การรักษาจิตใจและปฏิบัติธรรม ง่ายแต่ลึก 2 หน้า 360
หน้าที่ 360 / 416

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาพูดถึงการควบคุมจิตใจให้อยู่ในความสงบ โดยใช้เทคนิคการตั้งสติ ไม่ควรบังคับจิตใจให้แน่นเกินไป เพราะอาจทำให้เกิดความเครียด ในการฝึกปรับอารมณ์ ควรให้จิตใจอยู่กับปัจจุบันและระมัดระวังอารมณ์ของตนเอง ในขณะฝึกปฏิบัติธรรม หากใจสามารถสงบได้ ก็จะพบกับความปลอดโปร่ง สบาย และความรู้สึกเป็นหนึ่งเดียวกับร่างกาย ซึ่งถือเป็นการพัฒนาไปสู่การมีอารมณ์ทางจิตใจที่ดีกว่า

หัวข้อประเด็น

-การควบคุมจิตใจ
-การอยู่กับปัจจุบัน
-การสร้างความสงบ
-การใช้สติในการฝึกปฏิบัติ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

เอาไว้ในฝ่ามือ ถ้าหากเราจับแน่นเกินไป ปิ้นเกินไป หว่าว่านกะแจกจะอยู่ในฝ่ามือ มันก็อยู่เหมือนกันแต่ตาย จิตของเราก็เช่นเดียวกันเป็นของ ละเอียดยิบ ไม่ใช่เป็นของหยาบ เราจะบังคับด้วยกำลังอย่างนั้นไม่ถูก จะต้องวางอารมณ์ของเราให้เป็นอบุเมื่อใหญ่อย ๆ เรื่อย ๆ ถึงแม้ว่ากำหนดบริวารนิมิตของเจา จะไม่ชัดเจน จะไม่สว่างไสว จะเห็นได้ครีว ๆ ราง ๆ แล้วก็เลื่อนหยไป ก็ช่างมัน ขอให้ทุกคนตั้งใจอย่างนี้นะ เอาสติตของเราพยายามอย่าให้ผลจากบริวารทั้งสอง ทำเรื่อยไป ถึงแม้ว่ามีด กำหนดไม่เห็นก็ให้ใจหยุดดอยู่ตรงนั้น ฝ่ามืออยู่ตรงนั้นที่เดียวเหมือนเสื้อค่อยจ้องจับเหยื่ออยูตรงนั้นแหละ ถ้าหากว่าเหยื่อยังไม่ผ่านมา มันก็ยังอยู่ตรงนั้น ไม่เคลื่อนใไปไหน ใจของเราก็ เช่นเดียวกัน จะต้องคอยประคับประคองให้อยู่ตรงนั้นที่เดียว แล้วกาวาน่เรื่อง ๆ พอถูกส่งเข้า ถูกส่วนเหมือนเราดีไม่ขัดไปรอย่างนั้นแหละ พอถูกส่วนเข้าใจหยุด พอใจหยุดเข้าเท่านั้น ความปลอดโปร่งเบาสบายเกิดขึ้นมาซึ่งเราไม่เคยเป็นมาก่อน ขันฑ ธาตุ อายตนะต่าง ๆ หรือว่าร่างกายของเราจะมีอาการกลมกลืนเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ความปวดความเมื่อยก็ไม่มี มีแต่ความปลอดโปร่ง เบา สบาย เกิดความวิเวก
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More