การฝึกใจและการเข้าถึงศูนย์กลางกาย ง่ายแต่ลึก 2 หน้า 353
หน้าที่ 353 / 416

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับการฝึกใจให้หยุดนิ่งโดยใช้วิธีการนึกภาพหรือหยิ่งเฉยไปกับความรู้สึกภายใน การเข้าใจเกี่ยวกับการอยู่กับเนื้อกับตัวภายในเพื่อเข้าถึงศูนย์กลางกาย โดยไม่ต้องวิตกกังวลเกี่ยวกับการตั้งอยู่ที่ฐานที่ 7 มากเกินไป แนะนำให้รู้สึกอยู่ในท้องเพื่อความสะดวกในการทำสมาธิและการเข้าถึงดวงธรรม.

หัวข้อประเด็น

-การฝึกใจ
-การนึกภาพ
-ศูนย์กลางกาย
-การหยุดนิ่ง
-การทำสมาธิ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

เลย วางใจนิ่งเฉย ๆ เหมาะสำหรับคนที่นึกแล้วมันไม่สบาย มีหน้าปวดลูกเน็ตตา หรือพอึนแล้วมันเกิดเห็นขึ้นมาง่าย ๆ ก็เลยสงสัย มันแต่คิดว่า เอ๊ะ! เราคิดไปเองหรือของจริง ถ้ามี อภัยค่อยอย่างนี้ ก็ให้หยุดนิ่งเฉย ๆ ไม่ต้องนึกอะไรดีกว่า ทั้งสองวิธีการ คือ จะนึกเป็นภาพก็ดี หรือหยิ่งเฉย ๆ ก็ดี เป็นวิธีการฝึกใจให้หยุดให้ linger ให้อยู่กับเนื้อกับตัวภายใน เรา ถนัดแบบไหนเอาอย่างนั้น พอถูกส่วนแล้วมันจะตกศูนย์บูง ลงไปข้างใน ถ้านึกเป็นภาพ ภาพนั้นก็จะหยุดไป เปลี่ยนเป็นภาพใหม่ คือดวงใดของดวงมานุ่งสนาสติมีฐานหรือดวงหมู่ มรรจะลอยขึ้นมาแทนที่ภาพเดิม เหมือนภาพเดิมแค่เป็นยาน พานะพาเรามาส่งศูนย์กลางกายในฐานที่ 7 ถ้า หากไม่ก็เป็นภาพ พอถูกส่วน นิ่งหนักเข้า ไม่เขยื่อนไป เลย ก็จะตกศูนย์แล้วก็จะเข้าถึงดวงเหมือนกัน ดวงธรรมก็ลอย ขึ้นมาเป็นดวงใส ๆ นี้ต้องทำความเข้าใจอย่างนี้นะ และอีกประการนึง อย่างกังวลกับศูนย์กลางกายรุนที่ 7 มากเกินไป ไม่ต้องไปลิงดู ไม่ต้องไปร่ำถึงว่า ใจเรตั้งอยู่ พอดีฐานที่ 7 เฉพาะไหม จ้างง่าย ๆ ว่า ทำความรู้สึกไว้ในท้อง ท้องสำหรับผู้ไม่มีนิสิต ถ้านึกเป็นภาพก็ว่าพอยู่ในท้อง ดวงอยู่ในท้อง จะตรงฐานที่ 7 ไหมก็ง่ายมัน เอาว่าอยู่ในท้อง
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More