การแปลความหมายของอริยวสิกภิกขุในพระบาลี วิสุทธิมรรคแปล ภาค 1 ตอน 1 หน้า 86
หน้าที่ 86 / 184

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้มีการพูดถึงบทบาทและความสำคัญของภิกษุที่เรียกว่าอริยวสิกภิกขุ ซึ่งหมายถึงภิกษุผู้ตั้งอยู่ในอริยวงศ์ และการใช้ปัจจัยต่างๆ ในการดำเนินชีวิต เช่น จีวรและบิณฑบาต หลีกเลี่ยงการใช้คำพูดที่ไม่เหมาะสม รวมถึงการตอบคำถามจากคฤหัสถ์เกี่ยวกับกิจกรรมที่ทำ โดยมุ่งเน้นความสำคัญของการดำเนินชีวิตในแนวทางที่บริสุทธิ์และถูกต้องในศาสนา

หัวข้อประเด็น

-อริยวสิกภิกขุ
-ปัจจัยในการดำเนินชีวิต
-คำพูดและการสื่อสารของภิกษุ
-การวิถีทางพระพุทธศาสนา
-การปฏิบัติของภิกษุในจีวรและบิณฑบาต

ข้อความต้นฉบับในหน้า

เภสัช (เป็นแน่)" ประโยค๘ - วิสุทธิมรรคแปล ภาค ๑ ตอน ๑ - 6 - หน้าที่ 83 ดังนี้แล้ว (ตัวเอง) ฉันแต่ชิ้นสมอเท่านั้น (เช่นนี้) เป็นการชอบแท้ อันภิกษุเช่นนี้ท่านเรียกว่า อริยวสิกภิกขุ (ภิกษุผู้ตั้งอยู่ในอริยวงศ์) ชั้นอุดม ก็แลปัจจัยทั้งหลาย มีจีวรเป็นต้นนั้นใด บรรดาปัจจัยเหล่านั้น ในจีวรและบิณฑบาต นิมิต (พูดใบ้) โอภาส (พูดเคาะ) ปริกถา (พูดหว่านล้อม) วิญญัติ (ขอตรงๆ) ย่อมไม่สมควรแก่ภิกษุทุกรูป ผู้จะทำอาชีวะให้หมดจด แต่ในเสนาสนะ นิมิต โอภาส และปริกถา ก็ควร สำหรับภิกษุผู้ไม่ได้ถือธุดงค์ ในอาการเหล่านั้น การที่เมื่อภิกษุกระทำกิจมีบริกรรมพื้นที่ เป็นต้น เพื่อ (ปลูก) เสนาสนะอยู่ ครั้นคฤหัสถ์ทั้งหลายถามว่า "ท่าน ผู้เจริญ ท่านทำอะไร ใครให้ทำ" แล้วกล่าวตอบว่า "ไม่มีใคร ๆ ให้ทำดอก" ดังนี้ ก็หรือว่านิมิตตกรรม (การทำให้) รูปนั้น อย่าง อื่นอีก ชื่อว่านิมิต (ใบ) การที่เมื่อภิกษุถามว่า "อุบาสกอุบาสิกา ทั้งหลาย ท่านทั้งหลายอยู่เรือนอะไร" ครั้นเขาตอบว่า "(อยู่) ปราสาท เจ้าข้า" แล้วพูดว่า "อุบาสกอุบาสิกาทั้งหลาย ก็แต่ ปราสาทย่อมไม่สมควรแก่ภิกษุทั้งหลาย" ดังนี้ ก็หรือโอภาสกรรม (การพูดแคะ) รูปนั้น อย่างอื่นอีก ชื่อว่า โอภาส (เคาะ) การที่ ภิกษุพูดว่า "เสนาสนะของภิกษุคับแคบ" ดังนี้ ก็หรือว่าการ sk ที่แปลว่าอริยวสิกเช่นนี้ แปลโดยนัยแห่งพระบาลีในอริยวํสิกสูตร จตุกังคุตตตรว่า....อ.คุณเณ อริยวิเส ฐิโต แต่ในมหาฎีกาแก้ของท่านไว้ว่า อริยวํโส เอตสฺส อตฺถิ อริยวิเส วา นิยุตโตติ อริยวสิโก (ผู้มีอริยวงศ์ หรือผู้ประกอบในอริยวงศ์),
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More