การใช้ผ้าบังสุกุลในพระธรรม วิสุทธิมรรคแปล ภาค 1 ตอน 1 หน้า 134
หน้าที่ 134 / 184

สรุปเนื้อหา

บทความนี้วิเคราะห์การใช้ผ้าบังสุกุลในพระพุทธศาสนา โดยแสดงให้เห็นถึงประเภทผ้าที่มีอยู่ เช่น ผ้าที่ถูกทอดทิ้งในป่าช้า ผ้าที่วางไว้ในตลาดหรือทิ้งตามสถานที่ต่างๆ ถูกนำมาทำเป็นจีวรใหม่ โดยพระโยคีผู้ฝึกฝนตนในด้านธรรมวินัย ทั้งยังอธิบายเกี่ยวกับความหมายและความสำคัญของแต่ละประเภทผ้า เช่น โสสาริกะ, ปาปณิกะ, และอื่น ๆ ที่ถูกทิ้งโดยเจตนา หรืออุบัติเหตุ ซึ่งผู้ที่ปฏิบัติธรรมสามารถนำไปใช้ได้อย่างมีคุณค่า เล่ากันว่า มารดาของติสสอำมาตย์ได้ให้ผ้าราคาแพงทิ้งไว้ โดยหวังว่าภิกษุผู้ทรงผ้าบังสุกุลจะได้ใช้ เปรียบเสมือนการให้โอกาสใหม่ในชีวิต

หัวข้อประเด็น

-การใช้ผ้าบังสุกุล
-ประเภทของผ้า
-ความหมายทางจิตวิญญาณ
-การฝึกฝนทางศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๑๖. ถูปจีวระ ๑๓. สมณจีวระ ๑๘. อาภิเสกิกะ ๑๙. อิทธิมยะ ๒๐. ปันถกะ ๑๕. ธชาหฎะ ประโยค๘ - วิสุทธิมรรคแปล ภาค ๑ ตอน ๑ - (ผ้าที่เขายกเป็นธงแล้วทิ้งไว้) - หน้าที่ 130 (ผ้าที่เขาห่มจอมปลวกทำพลีกรรม แล้วทิ้งไว้) (ผ้าของภิกษุด้วยกัน) (ผ้าที่เขาทิ้ง ๆ ไว้ในที่ราชาภิเษก) (ผ้าสำเร็จด้วยฤทธิ์) (ผ้าที่ตกอยู่ตามหนทางไม่ปรากฏเจ้า ของ) ๒๑. วาตาหฏะ (ผ้าที่ลมหอบไปไม่มีเจ้าของติดตาม) ๒๒. เทวทัตติยะ ๒๓. สามุททิยะ (ผ้าที่เทวดาถวาย) (ผ้าที่คลื่นทะเลซัดขึ้นฝั่ง) เหล่านี้อย่างใดอย่างหนึ่ง พระโยคีผู้มีธุดงค์อันได้สมาทานอย่างนั้นแล้ว พึงถือเอามาฉีกเนื้อผ้าเปื่อยทิ้งเสีย ซักเนื้อผ้าที่ยังเหนียวทำเป็นจีวร เปลื้องคฤหบดีจีวรผืนเก่าแล้วใช้เถิด. บรรดาผ้าเหล่านั้น ผ้าที่ตกอยู่ในป่าช้า ชื่อว่า โสสานิกะ ผ้า ที่ตกอยู่ที่ทางเข้าตลาด ชื่อว่า ปาปณิกะ ผ้าที่เหล่าชนผู้ต้องการบุญ ทิ้งลงตามตรอก ทางช่องหน้าต่าง ชื่อว่า รถยโจฬะ ท่อนผ้าที่เขา ทิ้งที่กองหยากเยื่อ ชื่อว่าสังการโจฬะ ผ้าที่เขาเช็ดครรภมลทินแล้วทิ้ง ชื่อว่า โสตถิยะ เล่ากันว่า มารดาของติสสอำมาตย์ให้ใช้ผ้ามีราคา นับแสนเช็ดครรภมลทินแล้วให้ทิ้งไว้ที่ทางเดินชื่อตาลเวที ด้วยประสงค์ ว่าภิกษุผู้ทรงผ้าบังสุกุลเป็นวัตรทั้งหลายจักถือเอา ภิกษุทั้งหลายถือเอา
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More