พระธรรมปิฏกฐาวุธ ภาค ๑ พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค 1 หน้า 8
หน้าที่ 8 / 217

สรุปเนื้อหา

ในบทนี้ได้กล่าวถึงพระธรรมที่พระพุทธเจ้าสอนแก่พระภิกษุและเศรษฐี ที่ไม่เคยถามปัญหา ต่อมามีผู้ไปฟังธรรมจำนวนมากในกรุงเทพติดี โดยเนื้อหาแสดงให้เห็นถึงการรับรู้ธรรมที่ลึกซึ้งและความสำคัญของการศึกษาธรรม.

หัวข้อประเด็น

-พระธรรมคำสอน
-เรื่องราวของพระเศรษฐี
-ความสำคัญของการฟังธรรม
-การรับรู้ธรรมของชาวสาวิติ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค ๒ - พระธรรมปิฏกฐาวุธ ภาค ๑ - หน้าที่ ๖ แห่งละ ๒ พันรูปรายเป็นนิยฏฐ. พระภิกษุรูปใด ปรารถนาของ สิ่งใด จะเป็นข้าวน้ำหรือผัก ของนั้นก็สำเร็จแก่พระภิกษูปั้น สมปรารถนา. [เศรษฐีไม่เคยถามถามปัญหา] ในท่านทั้งสองนั้น ท่านอนาถบินทิกเศรษฐี ไม่เคยถามถาม ปัญหาต่อพระศาดา จนวันเดียว ได้ฉวา ท่านคิดว่า "พระ ตาดตาเจ้า เป็นพระพุทธเจ้สละละเอียดอ่อน เป็นบัณฑิตผู้ละเอียด อ่อน เมื่อทรงแสดงธรรมแก่เรา ด้วยทรงพระดำรว่า "คฤหวุดดีม อุปกรแก่เรามาก" ดังนี้ จะทรงลำบาก" แล้วไม่ถามถามปัญหา ด้วยความรักในพระศาดาเป็นอย่างยิ่ง ฝายพระศาดา พอท่าน เศรษฐีจึงนั่งแล้ว ทรงพระพุทธดำริว่า "เศรษฐีผูมี้ รักษาในที่ไม่ ควรรักษา, เหตุว่าเร้ได้คัดระหว่างของอันประดับประดับแล้ว คั้ก ดวงตาของเราออกแล้ว ฯลฯ หัวใจของเราและแล้ว สสะลูกเมีย ผู้เป็นที่รักเสมอด้วยชีวิตของเราแล้ว บำเพ็ญบารมีอยู่ ๔ อสงไขยกับ แสนกัลป์ ก็มาเพียงเพื่อแสดงธรรมแก่ผู้ถือแทน ๆ เศรษฐีนี้ รำบายในที่ไม่ควรรักษา," (ณ วันพระพุทธดำริ) จะนะแล้ว ก็รีส พระธรรมเทคาณต์หนึ่งเสมอ. [ชาวสาวิตีไปฟังธรรม] ครั้งนั้น ในกรุงเทพติดี มีคนอยู่ ๓ โกฏิ ในคนหมู่หนึ่ง คนได้ ๑. ในกรุงเทพติดีไม่ปรากฏใหญ่โตดังกับจุฑได้ตั้ง ๑๐ ล้าน เพราะฉนั้นน่าจะเป็นนอกส่งซยา กระ๋ง? ๑. ในกรุงเทพติดีไม่ปรากฏใหญ่โตดังกับจุฑได้ตั้ง ๑๐ ล้าน เพราะฉนั้นน่ะจะเป็นนอกส่งซยา กระ๋ง?
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More