บทสนทนาของพระมหาบุรุษเกี่ยวกับผ้ากาสะวะ พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค 1 หน้า 112
หน้าที่ 112 / 217

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้พูดถึงการสนทนาระหว่างพระมหาบุรุษกับนายพรานช้างที่กระทำการที่ไม่เหมาะสม พระมหาบุรุษตั้งคำถามเกี่ยวกับการกระทำของนายพรานช้างที่จับสัตว์อย่างไม่เหมาะสม และได้ชี้แนะให้รักษาศีลและความดีในตน ผ่านคาถาที่มีความหมายถึงการประพฤติปฏิบัติอย่างถูกต้อง เมื่อเข้าใจแล้วว่าเขาทำกรรมที่ผิด จึงเป็นการทำลายจิตใจอันบริสุทธิ์ของตนเอง เนื้อหานี้ย้ำถึงบทเรียนเกี่ยวกับการดำเนินชีวิตที่ต้องมีจริยธรรม.

หัวข้อประเด็น

-การสนทนาของพระมหาบุรุษ
-กรรมและผลของการกระทำ
-การรักษาศีล
-คำสอนเกี่ยวกับการประพฤติปฏิบัติ
-ความสำคัญของจริยธรรม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - พระบาคาร่าปกติวา ถอดลับไปข้างหลังหลบทแล้ว. ที่นั่น จึงวิ่งเข้าไป เพื่อจะจับนายพรานช้างนั้น ด้วยสำคัญว่า "เจ้าคนนี้ ให้ช่างของเราจับหาแล้ว." นายพรานช้างถอนนี้ แอบบังต้นไม้ต้นหนึ่ง ที่นั่น พระมหาบุรุษเร่งรวบเขาพร้อมกับต้นไม้หมายไว้ว่าจักจับฟาดคลำที่แผ่นดิน,"(ครับ) เห็นผ้ากาสะวะที่เขานำออกแสดง จึงยิ่งยังไง ว่าว่าํ"ถ้าเราจับประโยรียในบุรุษปีนี้ซิ," ชื่อว่าความละอายในพระพุทธเจ้า พระปิ่นอฏุพุทธะและพระนิฉาสพหลายพ่อง จักเป็นอันเราทำลายแล้ว," ซักถามว่า "ญาติของเราประมาณเท่านี้ เจ้ให้จับหายแล้วหรือ?" นายพรานช้างรับสารภาพว่า "จะ นาย." พระมหาบุรุษกล่าวว่า "เพราะอะไรงั้นจึงได้ทำกรรมอั้นหยาบอย่างนี้? เจ้ำผ้าคนไม่สมควรแก่ตน สมควรแก่ท่านผู้ปรารถนากระทงหลาย เมื่อทำกรรมอันลามากเห็นปานนี้ ชื่อว่าทำกรรมอันหนัก." ก็แล้ว ครั้นกล่าวอย่างนั้นแล้ว เมื่อจะมีงี้ขึ้น จึงกล่าวคาถาว่า 'ผู้ใด มิก็ลดดูน้าผ้าด้ายไม่ออก ปราศจาก ทมและสีลจะ นุ่มห่มผ้ากาสะวะ, ผู้ันย่อมไม่ควรนุ่มผ้ากาสะวะ, ส่วนผู้ใด พึงเป็นผู้มีมิก็ลดดูน้าผ้าดินคาบแล้ว ตั้งมั่นดีในสิทธิหลาย ประกอบด้วยทมะและสีลอ, ผู้ันแล ย่อมควรนุ่มห่มผ้ากาสะวะ'"
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น