พระอัมปปัณฑุกะ แปลภาค ๑ - หน้าที่ 65 พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค 1 หน้า 67
หน้าที่ 67 / 217

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาในหน้านี้กล่าวถึงความสัมพันธ์ของบุคคลในตระกูลที่ไม่มีบุตร การพูดคุยเกี่ยวกับสถานะและความคาดหวังของสตรีที่ไม่สามารถมีบุตรได้ ทั้งยังมีการพูดถึงเรื่องราวต่างๆ ที่เกี่ยวพันกับมรดกและทรัพย์สมบัติของครอบครัว ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงความสำคัญของการมีบุตรในสังคมในเวลานั้น นอกจากนี้ยังมีการพูดคุยกันระหว่างหญิงหมันและบุตรของตระกูลเรื่องการมีลูก การสืบทอดทรัพย์สิน และการตัดสินใจที่ส่งผลต่อชะตาชีวิตของพวกเขา

หัวข้อประเด็น

-ความสำคัญของการมีบุตร
-ความสัมพันธ์ในตระกูล
-เรื่องราวของหญิงหมัน
-การสืบทอดทรัพย์สมบัติ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - พระอัมปปัณฑุกะ แปลภาค ๑ - หน้าที่ 65 ตะกูลที่ไม่มีบุตรอ่อนจิ้นหยาย, ประเพณีอ่อนไม่สืบเนื่องไป, เพราะฉะนั้น แม้จำนงงามภก็รากอนอื่นมา (ให้เจ้า") แม้บุตรนั่นกล่าว ห้ามอยู่ว่า "อย่าเลย แม่" ดังนี้ ก็ยังได้กล่าว (อย่างนั่นน) บ่อย ๆ. หญิงหมันได้ยินค้านั้น จึงกล่าวว่า "ธรรมาดาถูกะ" ย่อมไม่เป็นหมันแน่แล้ว มารดา บิดา ตนจะนำหญิงอีกรับไปเป็นหมันแน่แล้ว ก็ทักใช้เราด้วย หากอย่างไรเราพึงนางงามภูกุมารหนึ้งมาตีเอง" ดังนี้แล้ว จึ่งไปยังตะกูลแหน่งหนึ่ง ของงูภูกมิด เพื่อประโยชน์แก่สามี, ถูกพวกชนาในตะกูลหัวว่า "หล่อนพูดอะไรเช่นนั้น" ดังนี้แล้ว จึงอ่อนว่ากว่า "ฉันเป็นหมัน ตะกูลที่ไม่มีบุตร อ่อนฉายาย บุตรีของท่านได้บุตรแล้ว จักได้เป็นเจ้าของทรัพย์สมบัติ, ขอท่านโปรดยกเธอขึ้นให้แก่สามีของฉันเอง" ดังนี้แล้ว ยิ่งตะกูลนั้นให้ยอมรับแล้ว จิบนมาไว้ในเรือนของสามี. ต่อมา หญิงหมันนั้น ได้มีความปริตกว่่า "ถ้านางคนนี้จึ๊กได้ บุตรหรือบุตรีไซร้ จักเป็นเจ้าของทรัพย์สมบัติแต่ผู้เดียว, ควรเราจะทำ นางอย่าให้ได้การกลาย." [เมื่อนางปลูงยามลากอาวคิ้งน้อย] ลำดับนั้น หญิงหมันจึงพูดว่ากนนี้ว่า "ครรภ์ดังนี้ในท้องหล่อนเมื่อใด ขอนำให้หล่อนออกแก่ฉันเมื่อเนั้น" นางนั้นรับว่า "จ๊ะ" เมื่อครรภ์ตั้งแล้ว ได้บอกแก่หญิงหมันนั่น ส่วนหญิงหมันนั่นและให้ข้าวต้มและข้าวสวยแก่นางนี้เป็นนิตย์, ภายหลัง นางได้ให้สำหรับทำภรรให้ตก ปนกับอาหารแก่นั้น. ครรภ์ติ๊ก [แท้ง]
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More