เรื่องความเกิดขึ้นของนางกามลักษณ์ พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค 1 หน้า 66
หน้าที่ 66 / 217

สรุปเนื้อหา

บทความนี้นำเสนอเรื่องราวเกี่ยวกับนางกามลักษณ์ผ่านคำสอนของพระศาสดาที่ทรงเทศนาเกี่ยวกับความรักและการดำเนินชีวิตของบุตรที่มีต่อมารดา โดยอธิบายถึงบริบทและความสำคัญของความสัมพันธ์ในครอบครัว รวมถึงเรื่องราวการแต่งงานที่เกี่ยวข้อง ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความคิดและภูมิปัญญาที่สืบทอดเป็นมรดกทางวัฒนธรรม ที่น่าสนใจผ่านการเผยแพร่จากพระมหาทูล เปรียญเอก วัดเทพศิรินทราวาส ในปี พ.ศ. ๒๕๔๓.

หัวข้อประเด็น

-ความหมายของนางกามลักษณ์
-บทบาทของมารดาในชีวิต
-ความสำคัญของพระธรรมเทศนา
-การดำเนินชีวิตของบุตร
-เรื่องราวการแต่งงานในวรรณกรรมไทย

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - พระมหาทูล เปรียญเอก วัดเทพศิรินทราวาส แปล พ.ศ. ๒๕๔๓. ๔. เรื่องความเกิดขึ้นของนางกามลักษณ์*[ ๔ ] [ข้อความเบื้องต้น] พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ในพระเวสวัน ทรงปรารถนาหญิงหนุ่ม คนใดคนหนึ่ง ตรัสพระธรรมเทศนาว่า "น หิ เวเน เวนาน" เป็นต้น. [มรดกาหากรยาให้บุตร] ดังได้สดับมา บุตรฤกษ์พี่คนหนึ่ง เมื่อเกิดทำละแล้ว ทำการ งานทั้งปวง ทั้งที่มี ทั้งที่บ้าน ด้วยตนเอง ปฏิบัติมาดอยู่. ต่อมา มารดาได้บอกแก่เขาว่า "พ่อ แม่จ่านำบุตรธันวาคมให้เจ้า." บ. แม่ อย่างพูดอย่างนี้เลย จึงปฏิบัติมาเป็นตลอดชีวิต. บ. พ่อ เจ้าบ้านเดี่ยวทำงานอยู่ ทั้งที่บ้านและที่นอก, เพราะเหตุนั้น แม่จึงไม่มีความสบายใจเลย, แม่จ่านำบุตรธันวาคมให้เจ้า. เขาแม่ห้าม (มรดา) หลายครั้งแล้วได้ยินเสียง. มรดนนี้ออกจากเรือน เพื่อจะไปสู่กระบอกแห่งหนึ่ง. ลำดับนั้น บุตรตามมาตรว่า "แม่จะไปตรวบูสี่ไหน?" เมื่อ มารดาบอกว่า "จะไปตรวบูสี่โน่น" ดังนี้แล้ว ห้ามการจะไปตรวบูสี่เสียแล้ว บอกตรวบูสี่ที่ชอบใจให้. มรดาได้ไปตรวบูสี่นั้น มันนางมารา gora แล้ว กำหนดวัน (แต่งงาน) นางมาริกา-gorn นั้นมา ได้ทำไปในเรือนของบุตร. นางมาริกานั้น ได้เป็นหญิงหนุ่ม. ที่นั้น มารดาจึงพูดคะนูแล้วว่า "พ่อ เข้าไปให้นำมาริกตาม ชอบใจของเจ้าแล้ว บัดนี้ นางมาริกานั้นเป็นหมัน, ก็ธรรมดา * พระมหาทูล เปรียญเอก วัดเทพศิรินทราวาส แปล พ.ศ. ๒๕๔๓.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More