ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค-พระบรมโพธิสมภาราภาค ๑ หน้า 111
ดังนี้แล้ว กล่าวว่า "เจ้าทำกรรมอันไม่สมควร" แล้วก็ปล่อยเขาไป
[ของดียอมควรแก่กันดี หาวรรคกันชั่วไม่]
พระศาสดา รับทรงนำพระธรรมบทนั่นมา (แสดง) แล้ว
ทรงอ้าชาดกว่า "นายพรานช้างในกาลนี้ได้เป็นเทวทัศน์ (ในบัดนี้)
ช้างตัวประเสริฐคู่ผู้มึนนี้นายพรานช้างนั้น คือเราเอง" ดังนี้ ตรัสว่า
"ภิญญา ไม่ใช่แต่ในกาลนี้เท่านั้น แต่ในกาลก่อน เทวทัศน์ร่วงผ้าก
ไม่สมควรแก่คนเหมือนกัน" ดังนี้แล้ว ได้กล่อบพระคาถาเหล่านี้ว่า
"ผู้ใด มิโกเลสดุดิ่นน้ำผึ้งดั่งไม่ออก ปราศจากมะ
และสังขะ จักนุ่งน่มผ้ากาสาวะ ผู้นั้นย่อมไม่ควร
นุ่งผ้ากาสาวะ ส่วนผู้ใด พึ่งเป็นผู้มิโกเลสดุดิ
น้ำฝดอันคามแล้ว ดังมันดำสีทั้งหลาย ประกอบ
ด้วยมะและสังขะ ผู้นั้นและ ย่อมควรนุ่งผ้ากาสาวะ."
เนือความนี้ บัณฑิตพึงแสดงแม้ว่ามัชฌาคังนี้แส
[แก้วรรณา]
บรรดาบาทเหล่านั่น ว่า อนิจจวาโว ความว่า ผู้ชื่อว่า
มิโกเลสดุดิ้นน้ำผึ้ง เพราะภิญญสดุจน้ำฝาดทั้งหลาย มีมากระเป็นต้น
บทว่า ปรีทาหุตติ ความว่า จักใช้ขอด้วยสามารถแห่งการนั่ง
การนั่ง และการลุก พระบาลีว่า "ปรีทิสุขาติ" คีมิ.
บทพระคาถาว่า อปโม ทมฺสจ ชน ความว่า ปราศจาก,