ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - พระเกียรติที่ฐกุชาดแปล ภาค ๑ - หน้าที่ 100
"ผู้ตามเห็นอารมณ์ว่างาม ไม่สำรวมในอินทรีย์ทั้งหลาย ไม่รู้สมในโภชนะ เกื้อ ครั้น มีความเพียรเวลามีอยู่ ผู้นั้นแล มาร ย่อมรังควานได้ เปรียบเหมือนต้นไม้มีกำลัง ไม่แข็งแรง มังรังควานได้ จะนั่น. (ส่วน) ผู้ตามเห็นอารมณ์ว่างาม สำรวมดีใน อินทรีย์ทั้งหลาย รู้อบาในโภชนะ มี ศรัทธาและปรารถนาเพียรอยู่ ผู้ันแล มาร ย่อมรังควานไม่ได้, เปรียบเหมือนภูเขาหิน รมังควานไม่ได้ จะนั่น."
[แก้รอจ]
บรรดาบทเหล่านั้น ว่า สุภานุสสี่ ได้แก่ผู้ตามเห็นอารมณ์ว่างาม. อธิบายว่า ผู้ปั่นอาโพในอารมณ์นั้นน่ารำราญอยู่, ก็ บุกกลดใด เมื่อถือโดยมินิท* โดยอนุพุทธานุสสี่ ชอบถึงว่า "เล็บทั้ง หลายงาม." ถือว่า "มือนทั้ง ๒ เท้าทั้ง ๒ แขนทั้ง ๒ ขาทั้ง ๒ สะโพก ท้อง ทั้ง ๒ คอ มีฝ่าเท้า ฟันทั้งหลาย ปาก จมูก ตา ทั้ง ๒ หูทั้ง ๒ คิ้วทั้ง ๒ หน้าผาก ผมทั้งหลาย งาม."
ถื่อว่า "ผง ขน เล็บ ฟัน หนังงาม." (หรือว่า "สิ่งงาม ทรวด-)
๑. สุภานุสสี่ เป็นคำเป็น วิกัดฎุ ใน ดูดาว ๆ สมานกาลวิยาใน วิรุนด์ แปล โดยพุชนะแว่า ผู้เป็นผู้มีตามเห็นอารมณ์ว่างาม.... มีความเพียรเวลาดามอยู่ ๆ.
๒. ได้แก่รวบก็หมด ๓. ได้แก่แยกือเป็นส่วน ๆ เช่น ผมงาม เป็นต้น.