การเข้าใจสาระและไม่สาระในพระธรรม พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค 1 หน้า 153
หน้าที่ 153 / 217

สรุปเนื้อหา

บทสนทนาที่นำเสนอถึงความสำคัญของการแยกแยะสาระและไม่สาระในทางพระพุทธศาสนา พระศาสดาได้อธิบายให้ภิกษุทั้งหลายเข้าใจถึงอวิชชาในด้านการรับรู้สาระ โดยการแบ่งประเภทความคิดเห็นและการดำริของคนที่มีมิจฉาทิฏฐิและบัณฑิต เพื่อที่จะได้ประสบสิ่งอันเป็นสาระอย่างแท้จริง สาระและมิจฉาทิฏฐินั้นอยู่ในรากฐานของการศึกษาธรรมะอย่างถูกต้องและลึกซึ้ง.

หัวข้อประเด็น

-การปฏิรูปทางความเชื่อ
-มิจฉาทิฏฐิ
-การแยกแยะสาระ
-บทบาทของบัณฑิต
-พระธรรมในชีวิตประจำวัน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - พระที่มาปฏิรูปถิ่นฐานภาค ๑ หน้า ที่ 151 คนฉลาด ๆ จักไปสำนักพระสมณโคดม, พวกเขาเหล่า ๆ จักมาสำนักของเรา, เธอทั้งหมด ๒ ไปเถอะ" ไม่ปรารถนาจะมา พระเจ้าเข้า." [ผู้เห็นแก่ตัวผู้เห็นแก่ตัวได้รับผลล้างกัน] พระศาสดา ทรงสนับสนั้นแล้ว ตรัสว่า "ภิกษุทั้งหลาย สมชัย ถือสิ่งที่ไม่มีสาระว่า "มีสาระ" และสิ่งที่มีสาระว่า "ไม่มีสาระ" เพราะความที่คนเป็นมิจฉาทิฏฐิ ส่วนเธอทั้งหมด ๒ รับรู้เป็นสาระโดย ความเป็นสาระ และสิ่งนั้นไม่เป็นสาระโดยไม่เป็นสาระ สิ่งที่ไม่ เป็นสาระเลเสีย ถือเอาแต่สิ่งที่เป็นสาระเท่านั้น เพราะความที่คนเป็น บัณฑิต" ดังนี้แล้ว ได้ทรงอธิบายพระคาถาเหล่านี้ว่า "ชนเหล่าใด มีปฏิรูปรายสิ่งที่ไม่เป็นสาระว่าเป็น สาระ และเห็นในสิ่งอันเป็นสาระว่า ไม่มีสาระ ชนเหล่านั้น มีความคิดผิดเป็นโคร ย่อมไม่ ประสบสิ่งอันเป็นสาระ ชนะเหล่าใด รู้สึ้งเป็นสาระ โดยความเป็นสาระและสิ่งไม่เป็นสาระโดยความไม่ เป็นสาระ ชนเหล่านั้น มีความดำริชอบเป็นโคร ย่อมประสบสิ่งเป็นสาระ." [แก้รอง] บรรดาเหล่านนั้น มาทพราคาถาว่า อาศร สารมฤโณ ความว่า สถานนี้ คือ ปัจเจย ๔ มีกายจิตคู่มิติ ๑๐ ธรรมเทวนาถอันเป็น อุปนิสัยแห่งมิจฉาทิฏฐิฉัน ชื่อว่าอาศร, ผู้มีปคติเห็นในสิ่งอัน ไม่เป็นสาระนั้นว่าเป็นสาระ.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More