บทเรียนเกี่ยวกับความสุขและธรรมในกายและใจ พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค 1 หน้า 53
หน้าที่ 53 / 217

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้อธิบายเกี่ยวกับธรรมที่สำคัญและความเกี่ยวข้องกับความสุขในชีวิต โดยกล่าวถึงความหมายของอธิบดีในบริบทของการเป็นผู้นำ และความสำคัญของใจที่เป็นใหญ่ในการสร้างสุขที่แท้จริง ผ่านการทำความเข้าใจธรรมที่เกี่ยวข้อง เช่น การพูด การกระทำที่ถูกต้อง และวัตถุมงคลที่มีบทบาทในการเสริมสร้างจิตใจที่สำคัญยิ่ง การมีคุณธรรมในการดำเนินชีวิตย่อมส่งผลให้เกิดสุขอย่างที่ดีกว่าในทุกระดับของการดำรงอยู่ในชีวิตของเรา เรื่องราวเหล่านี้ชี้ให้เราเห็นว่า การเรียนรู้และปฏิบัติธรรมที่ยังต้องคำนึงถึงบริบทของชีวิตประจำวันจะช่วยให้เราเป็นผู้ประสบความสุขได้อย่างแท้จริง เช่นเดียวกับภูมิธรรมที่มีอยู่ 3 ประการ ได้แก่ กามวาจาภูมิ รูปวาจาภูมิ และอรุปวาจาภูมิ ซึ่งช่วยกระตุ้นให้เราได้ตระหนักถึงความสำคัญของธรรมที่มีผลกระทบต่อจิตใจและชีวิตในด้านต่าง ๆ.

หัวข้อประเด็น

-ธรรมจิตในชีวิต
-ความสุขในธรรม
-คุณธรรมที่ส่งเสริมความสุข
-การปฏิบัติธรรมในชีวิตประจำวัน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

พระจําเภอ พระจําเภอพระจําเภอแปล ภาค ๑ หน้าที่ 51 อธิบดี เพราะฉะนั้น ธรรมหลานนี้ จึงชื่อว่ามใจเป็นใหญ่ เหมือน อย่างว่า บูรษเป็นอธิบดีของประชุมชมรมคณะเป็นต้น เขาก็เรียกว่า "เป็นเจ้าน้องใหญ่ เป็นแม่ทัพใหญ่" ฉันใด ถึงกฎเป็นใหญ่มั่งเหง ธรรมหลานนั้น ฉันนั้น เพราะฉะนั้น ธรรมหลานนี้ จึงเรียอามาใจ เป็นใหญ่ องค์ สิ่งของทั้งหลายนัน ๆ เสร็จแล้วด้วยวัตถุมงคลคํา เป็นต้น ก็ชื่อว่าทำเสร็จแล้วด้วยทองคําเป็นต้น ฉันใด ถึงธรรม ทั่งหลายนันก็ได้ชื่อว่า สำเร็จแล้วด้วยใจ เพราะเป็นของเสร็จสมใจ ฉันนั้น. บทว่า ปลนนน เป็นความว่า ผ่องใสแล้ว ด้วยคุณทั้งหลาย มีความไม่เพิ่งเงืิ่้องเป็นต้น. สองบทว่า ภาสติ วา โภติ วา ความว่าว่า บุคคลมีโสตเห็น ปานนี้ เมื่อจะพูด ย่อมพูดแต่สิ่งถูก ๔ อย่าง เมื่อจะทำ ย่อมทำ แต่กายสุริต ๓ อย่าง เมื่อไม่พูด เมื่อไม่ทำ ย่อมทำในสมุริต ๓ อย่างให้เต็มที่ เพราะความที่ตัวเป็นผู้มีใสแล้ว ด้วยคุณทั้งหลาย มีความไม่เพิ่งเงืิ่้องเป็นต้นมัน. ศิลารบบด.๙ ของเขา่อนถึงความ เต็มที่ ด้วยประการอย่างนี้. บทพระคาถาว่า ตโต นะ สุขานวณติ ความว่าว่า ความสุข ย่อมตามบุคคลนั้นไป เพราะสุจริต ๓ อย่างนั้น. กุลทั้ง ๓ ภูมิ พระผู้พระภาคทรงประสงค์แล้วในที่นี้. เพราะฉะนั้น บัดนี้พึง ทราบอธิบายว่า "ความสุขที่เป็นผล ซึ่งเป็นไปในกายและเป็นไป "๓. ภูมิ คือ กามวาจาภูมิ รูปวาจาภูมิ อรุปวาจาภูมิ.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More