พระธัมมปิฎกฉบับแปล ภาค ๑ - หน้า 149 พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค 1 หน้า 151
หน้าที่ 151 / 217

สรุปเนื้อหา

ในพระธัมมปิฎกฉบับแปล ภาค ๑ หน้า 149 กล่าวถึงประเพณีการต้อนรับพระพุทธเจ้าของสิริวิรัตุกุมพลีและการเรียนรู้เกี่ยวกับความปรารถนาของเขาในการเป็นพระสาวกที่ ๒ ของพระพุทธเจ้า เนื้อหาแสดงถึงความเคารพและการยอมรับในพระธรรมและการตั้งใจถวายความคารวะ อย่างไรก็ตามพระศกาดาได้พิจารณาความเป็นไปได้และอนาคตของความปรารถนาในภาพรวม ซึ่งเป็นการสะท้อนถึงความสำคัญของการมีพระสาวก และพระพุทธองค์ที่เป็นศูนย์กลางในการนำทางศาสนา.

หัวข้อประเด็น

-การต้อนรับพระพุทธเจ้า
-การเป็นพระสาวก
-การถวายความคารวะ
-ความสำคัญของพระธรรม
-อนาคตในพระพุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - พระธัมมปิฎกฉบับแปล ภาค ๑ - หน้า 149 รายโปรดออกไม้มะขาวดอกเป็นที่ ๕ ให้ท่านมนอปมงด้วยดอกอุובל เขียว ตบแต่งพุทธอาณัน จัดอาสนะแม้ก็พิกุษ์เหลือ จัดสังกระ และเครื่องต้อนรับเป็นอันมากแล้ว ได้ให้สัญญาเสรษฐาคเพื่อ ประโยชน์นิมนต์พระพุทธเจ้าทั้งหลาย พระคาม ได้พากิจสูงมีพระพุทธเจ้เป็นประมง ไปที่อยู่ ของสิริวิรัตุกุมพลืนแล้ว ฝ่ายสิริวิรัตุกุมพลี ทำการต้อนรับ รับบาตรจากพระหัตถ์ของ พระดาคด เชิญเสด็จให้เข้าไปสู่มณฑป ถวายน้ำทักษิณโนทกแก่วงัษูงมี มีพระพุทธเจ้เป็นประมง ซึ่งนั่งบนอาสนะที่แต่งไว้ องค์คล้องโภชนะ อันประดิษฐ์ ในเวลาสร็จภัตกิจ นิรมณ์พระจิตสูงมีพระพุทธเจ้า เป็นประมง ครองผ้าคำนี้น้อมมาแล้ว กรงนาว่า "บ้านแต่พระองค์" ผู้เจริญ ความรีบรี้นมีได้เป็นไปเพื่อประโยชน์แก่ตำแหน่งมีประมง น้อย ขอพระองค์ทรงทำความอนุเคราะห์โดยท่านองค์นี้ตลอด ๓ วัน." พระศกาดา ทรงรับแล้ว เข้าสมทานให้เป็นไปโดยท่านองค์ นั้นนั่นแล ตลอด ๓ วัน ถวายนบงคมพระผู้มีพระภาคเจ้าแล้ว ยืนประ- คองอัญชลี กราบกล่าวว่า "พระเจ้าข้า สรณาสถานของเจ้าพระองค์ ปรารถนาว่า "เราพึงเป็นพระอัครสาวกของพระศาสดาเรือนกัน" ข้าพระองค์พึงเป็นพระสาวกที่ ๒ ของพระศาสดารองนี้เหมือนกัน." พระศกาดา ทรงพิจารณาถึงอนาคตค่า ทรงเห็นภาวะคือความสำเร็จ แห่งความปรารถนาของเขา จึงทรงพยากรณ์ว่า "แต่ฉันล่วงไป ๑ อสง- ไขยด้วยแสนกัลป์ แม้นท่านก็จักเป็นพระสาวกที่ ๒ ของพระพุทธเจ้า
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More