การบรรลุฌานและบทสอนแห่งจิต พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค 1 หน้า 165
หน้าที่ 165 / 217

สรุปเนื้อหา

ในบทนี้กล่าวถึงการบรรลุฌานและการพัฒนาใจ โดยเปรียบเทียบการทำงานของจิตกับฝนที่ไม่สามารถชะล้างเรือนที่มุ่งไปในทางที่ดีได้ จิตที่ได้รับการพัฒนาและการปฏิบัติธรรมอย่างถูกต้องจะไม่ถูกทำลายโดยกิเลสต่างๆ ซึ่งมีการกล่าวถึงคติธรรมและประโยชน์ที่เกิดแก่มหาชน จากการบรรลุผลทางธรรม.

หัวข้อประเด็น

-การบรรลุฌาน
-การปฏิบัติธรรม
-การพัฒนาจิต
-คติธรรมในการใช้ชีวิต
-ผลกระทบทางสังคมจากการปฏิบัติธรรม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยคได้นี้ จำเดิมแต่กาลที่ตนเห็นนางเทพอัปสรแล้ว พยายามเพื่อบรรลุที่สุดแห่งกิจของบรรพชิตอยู่ ได้บรรลุฌานแล้ว ได้ทรงภัตพระคาถานี้ว่า "ฝันย่อมรวดเรือนที่มุ่งมิได้ ฉันใด รกะย่อมเสียดแทงจิตที่ไม่ได้บรมแล้วได้ ฉันนั้น ฝันย่อมรวดเรือนที่มุ่งดีแล้วไม่ได้ ฉันใด รกะก็ย่อมเสียดแทงจิตที่อิ่มบรมดีแล้วไม่ได้ ฉันนั้น." [แก้ อรรถ] บรรดาบทเหล่านี้น บทว่า อารัก คือซึ่งเรือนชนิดใดชนิดหนึ่ง บทว่า ทุจฉนุ์ คือที่เขามุ่งห่าง ๆ มีช่องเล็กช่องน้อย. บทว่า สมติวิปุณฺติ คือเมฆฝนย่อมรวดได้. บทว่า อากวีติ เป็นดังนี้ ความว่า รกะย่อมเสียดแทงจิตที่ชื่อว่า ไม่ได้บรม เพราะเป็นธรรมชาติเดินทางวานา ราวกับว่านฝน (รั้วรด) เรือนนั้นนะนั้น, ใช้แต่ราวอย่างเดียวท่านนั้นหามได้, สรรพิกเทศ ทั้งหลายมีโกละ โมทะ และมาละ เป็นอาทิ ก็ย่อมเกิดเพื่อนปานนั้นเหมือนกัน. บทว่า สุภาวิต ได้แก่ ที่อรวงดีแล้ว ด้วยสมภาวนาและ วิปสนานาวนา; กิเลสทั้งหลายมีร้างเป็นต้น ย่อมไม่อาจเสียดแทงจิต เห็นปานนั้นได้ ราวกับว่าฝนไม่อาจรัวเรือนที่มุ่งดีแล้วได้ฉะนั้น. ในการบกวลา ชนเป็นอันมากได้รับรสุรอัยผลทั้งหลาย มีโสดา- ปัตผลเป็นต้น เทนาได้สำเร็จประโยชน์แก่มหาชนแล้ว.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More