การสั่งสอนในแบบอาจารย์ พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค 4 หน้า 8
หน้าที่ 8 / 227

สรุปเนื้อหา

บทนี้กล่าวถึงการศึกษาพระธรรมและการสั่งสอนของพระพุทธเจ้า โดยกล่าวถึงความสำคัญของอาจารย์ที่ให้การสอนแก่ศิษย์ พร้อมกับแนะนำวิธีการแก้ไขความผิดพลาดและการรับผิดชอบในฐานะศิษย์ รวมถึงการเห็นคุณค่าของการมีอาจารย์ที่ดี โดยเน้นให้ศิษย์ได้รับการดูแลและการให้ความเคารพต่ออาจารย์ในที่ทำการศึกษา กล่าวถึงคำสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าและความหมายของการเรียนรู้ในทางธรรม เพื่อการเจริญเติบโตในปัญญาและจิตใจ.

หัวข้อประเด็น

-การสอนในศาสนา
-ความสำคัญของอาจารย์
-การศึกษาธรรม
-คุณค่าของศิษย์
-การแก้ไขความผิดพลาด

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค 2-4: พระผู้มีพระภาคทรงประสงค์ ในบทว่า วชุทสุนัม นี้. คนเชื่อใจถูก ผู้อื่นคงกามกดี ดีกดี ดีดี ดี" ชั่งทรัพย์ไว้ว่า " แถงถือเอาทรัพย์นี้" ย่อม ไม่ทำความโกรธ, มีแต่ปราโมทย์อย่างเดียว ฉันใด; เมื่อบุคคลเห็น ปานดังนั้น เห็นมารยามิงบังคับดี ควรพลาดพลั้งดีดี แล้วบอก อยู่, ผู้รับบอกไม่ควรทำความโกรธ ควรเป็นผู้นี้อย่างเดียว ฉันนั้น. ควรปราณนาที่เดียวว่า " ท่านเจ้าบ่า กรรมอันใหญ่ อันได้หาอารณ์ อยู่ในฐานเป็นอาจารย์ เป็นกูปิษาย์ ของกระผมแล้ว สั่งสอนอยู่ กระทำแล้ว, แต่ต่อไป ได้เทพถึงโอวาทกะผม" ดังนี้. บทว่า นิคมุหวามิที ความว่า ก็อาจารย์บางท่านเห็นมารยาท อันมิงบังคงกดีดี ความพลั้งพลาดดีดี ของพวกศิษย์มีสักวิธีรักษาเป็น อานิคว่า ไม่อาจเพียงจะพูด ด้วยณรงว่า " ศิษย์ผู้ถืออุปฐากราอยู่ ด้วยกินวัตรมีให้นับแล้วปกเป็นดัง แก่เรา โดยเคารพ; ถ้าเราคว่า เธอใช่, เธอจ๊ะไม่อุปฐากเรา, ความเสื่อมถั่งแก้เรา ด้วยอารมอย่างนี้" ดังนี้ ย่อมหาหือว่าเป็นผู้นิครคะไม่, เธอผู้นั้น ชื่อว่า เรียบร้อยหยกย่อมในศาสนานี้. ส่วนอาจารย์ใด เมื่อเห็นโทษปานนั้น แล้ว คูคาม ประมาณ ลงทัณฑ์ตรม ไปลออกจากวิหาร ตาม สมควรแก่โทษ ให้ศึกษาอยู่. อาจารย์ ชื่อว่าผู้นิครคะ; แม้เหมือนอย่างพระสัมมาสัมพุทธเจ้า. สมจริงอย่างนั้น พระผู้พระ- ภาคตรัสคำนี้ไว้ว่า " ดูก่อนอานนท์ เราจักกล่าวมานา ๆ, ดูก่อน อนานท์ เราจักกล่าวย่อยย่อ ๆ, ผู้ใดเป็นสาระ, ผู้ที่บังคับร่างอยู่ได้." บทว่า เมตริ คือ ผู้ประกอบด้วยปัญญามิโอซะเกิดแต่ธรรม.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More