พระพุทธศาสนาและการเจริญจิตใจ พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค 4 หน้า 108
หน้าที่ 108 / 227

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับการแสดงธรรมพระพุทธเจ้า โดยกล่าวถึงความมั่นคงของภิกษุที่มีจิตใจเหมือนแผ่นดินใหญ่ ไม่หวั่นไหวต่อความรู้สึกต่างๆ ไม่มีความโกรธหรือความประทุษร้าย และแสดงความสำคัญของการรักษาวัตรดีในชีวิต พร้อมทั้งการทิ้งสิ่งไม่ดีในจิตใจ เพื่อให้มีความสงบและเป็นที่เคารพจากสังคม. การแสดงธรรมนี้มีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมให้ผู้คนฝึกจิตให้มั่นคงและมีคุณธรรมอย่างแท้จริง

หัวข้อประเด็น

-หลักธรรมในพระพุทธศาสนา
-ความสำคัญของการไม่หวั่นไหว
-การรักษาวัตรดีในชีวิต
-การปฏิบัติตนของภิกษุสงฆ์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - พระบรมโพธิสมภารภก ๔ - หน้าที่ 106 พระเจ้า ขตรัสว่า " ภิกษุทั้งหลาย ใคร ๆ ไม่อาจให้ความโกธรหรือความประทุษร้าย เกิดขึ้นแก่ภิกษุสงฆ์ได้ ภิกษุหลาย จิตของพระสารีบุตรชนกับด้วยแผ่นดินใหญ๋ เช่น กับเสน่ห์ และเช่นกับหัวน้ำใส เมื่อจะทรงสืบอนุญาตแสดงธรรม จึงตรัส พระคาถานี้:- " ภิกษุใด เสมอด้วยแผ่นดิน เปรียบด้วยเสาเขื่อน คำที่ มีวัตรดี มีอสนังปิอคตม ไปปราสาทแล้ว เหมือนหัวน่ำปรากฏจากป็อกตมย่อมไม่ (ยินดี) ยินร้าย, สงสารทั้งหลายย่อมไม่มีแก่ภิกษุผู้นั้น ผู้ คงที่. " [ แก้ความ ] เนื้อความแห่งพระคาถานั้น ดังนี้:- ภิกษุทั้งหลาย ชนทั้งหลายย่อมทิ้งของเสดอมของหอมและ ระเบียบดอกไม้เป็นต้นนบ ย่อมทิ้งของไม่สะอาดมืดมนและกรีสนเป็นต้น บาง ลงในแผ่นดิน องิ์ดคู่เป็นต้น ย่อมถ่ายปิอสาระบ้าง ย่อมถ่าย อาจจะแบ่ง รดเสาเขื่อน อนึ่งผีเป็นต้น ย่อมถ่ายไว้ใต้ประตูเมือง, แต่ชนทั้งหลาย พวกอื่น ย่อมสักการะเสาเขื่อนนั้น ด้วยวัตถุมิของหอมและระเบียบ ดอกไม้เป็นต้น, ในเพราะการทำนั้น ความยินดีหรือความยินร้าย ย่อม ไม่เกิดแก่แผ่นดิน หรือเสน่นั้นแน่นอนใด; ภิกษุผู้นาสพึงได้ชื่อว่าผู้ที่ดี เพราะความเป็นผูไม่หวั่นไหว ด้วยโลกธรรมทั้งหลาย ฯ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More