การเห็นครั้งสุดท้ายและการบรรพชา พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค 4 หน้า 159
หน้าที่ 159 / 227

สรุปเนื้อหา

ในเนื้อหานี้สื่อถึงการเห็นครั้งสุดท้ายของตัวละคร หญิงผู้มีปัญญาที่มีข้อคิดและคำกล่าวถึงบัณติตที่เวียนในสถานที่ต่าง ๆ และการมอมแมมจากโจรที่มีชิ้นส่วนเนื้อที่ร่วงหล่นขณะเกิดเหตุการณ์ นอกจากนี้ยังกล่าวถึงความรู้สึกและความคิดเชิงปรัชญาที่ตัวละครมีเกี่ยวกับการตอบคำถามจากมารดาบิดาและการตัดสินใจในการบรรพชาที่จะเข้าร่วมกับผู้อื่นในทางธรรม

หัวข้อประเด็น

-การเห็นครั้งสุดท้าย
-บัณติต
-การบรรพชา
-ปรัชญาในการใช้ชีวิต
-ความกล้าหาญและปัญญา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยคฺ - พระองค์ทัศนูปลุ แปล ภาค ๔ - หน้า 157 "นาย นี่เป็นการเห็นครั้งสุดท้ายของดิฉัน, บัดนี้การที่ท่านเห็นดิฉัน หรือการที่ฉันเห็นท่านนั้นไม่มีอะไร" แล้วลมดอกร้างหน้าบางหลังก็ ยื่นที่ข้างหลังอันหนึ่งจับบังริจูประมาณ ยืนอยู่บนยอดหาดตรงคอเอามือข้างหนึ่งจับรังรักข้างหลัง ผลักลงไปในเหวเขา โจร นักกระทบถูกที่ท้องแห่งเขา เป็นชิ้นเล็กชิ้นน้อย ตกลงไปแล้วที่พื้น [หญิงผู้มีปัญญาก็เป็นบัณติตได้] เทวดาผู้ติดตามยืนอยู่บนยอดเขาที่จง ดูเหรียญบังของชนทั้ง ๒ นั้น จึงให้ออกจากหญิงนั้น แล้วกล่าวว่านี้วา :- "บูรณะนั้น เป็นบัณติตในที่ทุกสถาน ก็หาไม่, แม้สตรั้น ผู้มีปัญญาเห็นประจักษ์ ก็เป็นบัณติต ได้ ในที่นั้น ๆ" คิดเศรษฐ์ั้นนั้น ครั้งผลโจรลงไปในเหวแล้ว (คิดว่า) " หากว่า เราก็ไปบ้าน, มารดาบิดาจากมา' สามของเจ้าไปไหน ?' หากเราถูกถามอย่างนั้นจะตอบว่า ' ฉันฆ่าเสี้ยนแล้ว' ท่านจักทีมแทง เราด้วยหยกคือปากว่า 'นางคนหัวดี เจ้าให้ทรัพย์พันหนึ่งให้ฉัน ผิวมาบัดนี้ ก็มาเองเสียแล้ว; แม้เมื่อเราบอกว่า 'เขาปราณจะฆ่า ดิฉัน เพื่อดงการเครื่องประดับ,' ท่านจักไม่เชื่อ, อย่างเลยด้วยบ้าน ของเรา" ดังนั้นแล้ว ทิ้งเครื่องประดับไว้ในที่นั้นนั่นเอง เขาไปสุบ่า เทียวไปโดยลำดับ ถึงอาครมของพวกปราบกะแห่งหนึ่ง ไว้แล้ว กล่าวว่า "ท่านผู้มีจริย ขอท่านทั้งหลายจงให้การบรรพชา ในสถานิก
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More