ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค ๒ - พระธรรมปฏิภาณกลาโหม ๔ - หน้า 9
รักที่ชอบใจของบัณฑิตหลายๆ ดังนี้แล้ว เมื่อจะทรงสืบอนุสนธิแสดงธรรม จึงได้ตรัสพระคาถานี้ยาว:-
"ผู้ใดกล่าวกั้นว่า พิงสอน และพึงห้ามจากธรรมของสัตบุรุษ ผู้นั้นแห ย่อมเป็นที่รักของสัตบุรุษหลายๆ ไม่เป็นที่รักของพวกสัตบุรุษ."
[แก่อรรถ]
บรรดาความนั้นน บทว่า โอวาทุย ความว่า เมื่อเกิดเรื่องขึ้นแล้ว ก็นกล่าว ชื่อว่าอ้อมโอวาท เมื่อยังไม่เกิดเรื่อง ชื่อว่าอ้อมยังไม่ถึง คำว่าอ้อมอนุศาสน์ ก็เพราะต่อหน้า ชื่อว่าอ้อมโอวาท ส่งเหตุหรือศาสน์ไปในที่ลับหลัง ชื่อว่าอ้อมอนุศาสน์ แม้ขาวคราวดีๆ ชื่อว่าย่อมโอวาท กล่าวบ่อย ๆ ข้อว่าอ้อมอนุศาสน์ ก็กล่าวว่าอ้อมอนุศาสน์ อีกอย่างหนึ่งกำลังโอวาทนั้นแล ชื่อว่ารอคาศน์ พิก่งกล่าวสั่งสอนอย่างนี้ ด้วยประการะนี้.
บทว่า อุตพงษ์ ความว่า พึงห้ามอากุศลธรรม พึงให้ตั้งอยู่ในกุศลธรรม บบทว่า สติ ความว่า บุคคลเห็นปานนี้ ย่อมเป็นที่รักของสัตบุรุษหลายๆ มีพระพุทธเจ้าเป็นต้น แต่ผู้ว่ากล่าวผู้งสอนนั้น ย่อมไม่เป็นที่รักแห่งพวกที่ไม่เห็นธรรม มีปรโลกอันข้ามล่วงแล้ว ผู้หินแก่อาเมิ ด บวงเพื่อประโยชน์เก่าการเลี้ยงชีพเหล่านั้น ชื่อว่าสัตบุรุษ ผู้มแท้งด้วยอกคอปากอย่างนี้ว่า "ท่าน"