บันฑิตสามเณร - พระธรรมปิฎกฉบับแปล ภาค ๔ พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค 4 หน้า 36
หน้าที่ 36 / 227

สรุปเนื้อหา

ในพระธรรมเทศนานี้ พระศาสดาได้สอนเกี่ยวกับบันฑิตสามเณร โดยใช้ตัวอย่างการถวายอาหารและการชักชวนผู้อื่นในการทำความดี สอนให้รู้ถึงความสำคัญของการแบ่งปันร่วมกัน และผลลัพธ์ที่เกิดจากการทำดี ด้วยการกระทำทั้งให้และชักชวนผู้อื่น นอกจากนี้ยังสื่อถึงคุณค่าของการทำความดีในสังคมที่ส่งผลดีต่อชีวิตของตัวเองและคนรอบข้าง.

หัวข้อประเด็น

-บันฑิตสามเณร
-พระธรรมเทศนา
-การให้
-การชักชวน
-บทเรียนจากพระศาสดา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - พระธรรมปิฎกฉบับแปล ภาค ๔ - หน้า ๓๔ ๕. เรื่องบันฑิตสามเณร [๒๔๕] [ข้อความเบื้องต้น] พระศาสดาเมื่อประทับอยู่ในพระเวหวัน ทรงปรารภบันฑิตสามเณร ตรัสพระธรรมเทศนานี้ว่า "อุทิ ิ หิ น นวยนิ" เป็นต้น [พระศาสดาสอนโมทนากา] กังได้ลดมา ในอดีตกาล พระสัมพุทธเจ้าพระนามว่ากัสสป มีพระอีริยาบถ ๒ หมื่นรูปเป็นบริวาร ได้สำเร็จไปสู่สุพวาม มนุษย์ทั้งหลายกำหนดคําตั้งของตน ๆ แล้ว ร่วมกัน ๕ คนบ้าง ๑๐ คนบ้าง ได้ถวายอาหารทูกานแล้ว ต่อมาวันหนึ่ง ในกลายเป็นที่เสร็จกิจ พระศาสดาได้ทรงทำอนุโมทนากะอย่างนี้ว่า " เราขอญาณอาณิสทังหลาย คนบางคนในโลกนี้ คิดว่า เราให้อย่าง ๆ คนเท่านั้นควร ประโยชน์อะไรด้วยการชักชวนคนอื่น ดังนี้แล้ว จึงใหท่านด้วยตนเท่านั้น ไม่ชักชวนผู้อื่น เขาอมได้ โกคาสมิฺฏิ ไม่ได้บริวารสมบัติ ในที่สุด ๆ คนเกิดแล้ว บางคนชักชวนผู้อื่น ไม่ได้ถวายตน เขาอมได้บริวารสมบัติ ไม่ได้โกคาสมิฺฏิ ในที่สุด ๆ คนเกิดแล้ว บางคนก็ไม่ให้ด้วยตน ทั้งไม่ชักชวนผู้อื่น เขาอมไม่ได้โกคาสมิฺฏิ ไม่ได้บริวารสมบัติ เป็นคนกินคนเป็นอยู่ ในที่สุด ๆ คนเกิดแล้ว; บางคนทั้งให้ด้วยตน ทั้งชักชวนผู้อื่น เขาอมได้ทั้งโกคาสมิฺฏิทั้งบริวารสมบัติ ในที่สุด ๆ คนเกิดแล้ว.." * พระมหาจับ ป.ธ. ๓ (พระธรรมปิฎกาย ป.ธ. ๕) วัดโสมนัสวิหาร แปล.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More