การฟังธรรมในพระบรมปฏิญญา พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค 4 หน้า 78
หน้าที่ 78 / 227

สรุปเนื้อหา

ในพระบรมปฏิญญา กล่าวถึงการฟังธรรมที่สำคัญสำหรับพระสงฆ์และชุมชนในกรุงสาวัตถี โดยมีการบรรยายเกี่ยวกับการเข้าฟังธรรม และความยากของความเข้าใจธรรมที่แท้จริงในหมู่ประชาชน ทั้งนี้มีการแสดงความปรารถนาและบทเรียนจากการฟัง ซึ่งส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาทางจิตใจและความคิดอย่างมีสติ.

หัวข้อประเด็น

-การฟังธรรม
-พระบรมปฏิญญา
-การเข้าถึงความรู้
-ชุมชนธรรม
-ความเข้าใจในธรรม
-การสะท้อนปฏิญญา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค๒ - พระบรมปฏิญญาแปล ภาค ๔ - หน้าสี 76 ๑๐. เรื่องการฟังธรรม [๒๖] [ข้อความเบื้องต้น] พระศาสนเมื่อประกอบอยู่ในพระประทีป วัน ทรงปรารภการฟังธรรม ตรัสพระธรรมเทคนิคว่า "อุปปา เต มนุสสสุส" เป็นต้น [คนอาศัยฟังแล้วติดคงมิมา] คงได้ดังมา พวกมนุษย์ผู้ฉลาดสายเดียวกัน ในกรุงสาวัตถี เป็นผู้พร้อมเพรียงกัน ถวายทานโดยรวมกันเป็นกลุ่มแล้ว ก็ให้งาการฟังธรรมตลอดคืนรุ่ง เราไม่อาจฟังธรรมตลอดคืนรื่นรมย์ได้ บางพวกเป็นอุทิษยความยินดีในนามก็กลับไปเรือนเสก่อน บางพวกเป็นอุทิษยโกษะ ไปแล้ว แต่บางพวกจ่วงรุ่งเต็มที นั่งสัปปะหงกอยู่ในที่นั้นนั่นเอง ไม่อาจจะฟังได้ ในวันรุ่งขึ้น พวกกุฎิยังถ้อยคำให้ตั้งนั้นในโรงธรรมเจาะจงถึงเรื่องนั้น พระศาสนเทิดมาครงถามว่า "ถกะทังหลาย บัดนี้ พวกเธอสนทนากันด้วยเรื่องอะไรหนอ?" เมื่อกุฎิทังหลายกราบทูลว่า "ด้วยเรื่องชื่ออันนี้" จึงตรัสว่า "ถกะทังหลาย ธรรมดาสั้บเหล่านี้ อาศัยพุทโธแล้วของอยู่ในภพนั่นเอง โดยคาดคั้น ชนผู้ใฝ่ฝังจำนวนน้อย," เมื่อออกสีบอนุสนธิแสดงธรรม ได้ตรัสพระคาถาเหล่านี้ว่า :- "บรรดามนุษย์ ชนผู้สดมังคม่น้อย ฝ่ายประชาชนคนนี้ละไปตามคลึงอย่างเดียว ก็จนเหล่าได้แต่ คำพูดสมควรแก่ธรรมในธรรม" *พระมหาทองสา ป. ช. ๖ วัดปทุมวนาราม แปล.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More