ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค- พระบำบัดภายูภาค ๕ - หน้า ที่ 93
" คติของชนทั้งหลายผู้สังสมมิโลก ผู้กำหนด รู้โภชนฺฯ มีสัมญฺญาวิโมกฺข์ และอนิมิตต- วิถินคฺเป็นอารมณ์ ไปตามยาก เหมือนทาง ไปของผงในอากาศนั่น"
[ แก้อรรถ ]
บรรดาบทเหล่านี้ ในบทว่า สนุนโย สังสมิ ๒ อย่าง คือ สังสมกรรม ๑ สังสมปัจจัย ๑, ในการสังสม ๒ อย่างนั้น กรรมที่ เป็นกุศลและอกุศล ชื่อว่าสังสมกรรม, ปัจจัย ๔ ชื่อว่าสังสม ปัจจัย ในการสังสม ๒ อย่างนั้น สังสมปัจจัยย่อมไม่มีแก่วู้อยู่ ในวิหาร เก็บอ้อยอิ่งกอนหนึ้ง เนอไส้กลําเที๊ยวที่ ๔ และข้าวสาร ทะนานหนึ่งไร่, ย่อมมีแก่วุผู้กิ่นวิ่งใช้งานว่ากัน; สังสม อย่างนี้ ของชนเหล่าใดไม่มี.
บทว่า ปริญญาติโภชน คือกำหนดรู้โภชนด้วยปริญญา ๓, ก็การรู้โภชนะแบบดังเป็นต้น โดยความเป็นข้าวดังเป็นต้นชื่อว่า ฐานปริญญา (กำหนดรู้ด้วยอัญชัญแล้ว), ส่วนการกำหนดรู้โภชนะแ
๑. บทว่า " สนุนโย" ในคาถา ควรเป็นจากวา ว่า กิริยาสังสม การสังสม พระอรรถกถาจารย์แก้สันนิษฐานจิว ๒ เอาว่า วิถีอรรมันต์เป็นต้น เป็นสันนิษฐานนี้ สันนิษฐานจะเป็นกรรมจากไป ที่เปล่า สังนี้จะพึงสังสม. ในที่นี้ แปลตามความ ถึงรุกแก้ ก็ปล่อยไปตามอรรถก.
๒. บทว่า "เอกจง ญาติตนาง" แปลว่าหนะแห่งข้าวสารอันหนึ่งนั้น ไม่ได้หมายเอาที่นานสำหรับข้าว สัพทว่า " นนท์" บอกประกอบแห่งข้าวสาร จึงเปล่าว่าข้าวสารนานหนึ่ง เพื่อให้คุณแห่งภายใต้