ความหมายของพระอรหันต์ พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค 4 หน้า 85
หน้าที่ 85 / 227

สรุปเนื้อหา

บทความนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับการปรึกษาของหมอชีวกกับพระศาสดา เกี่ยวกับพระอรหันต์ที่ไม่มีความร้อนใจและสันติสุขในธรรม เมื่อถึงจุดหมายปลายทางแล้วจะไม่พบความเศร้าโศก ผู้ที่เดินทางไกลแต่ยังไม่ถึงที่หมายก็จะมีความเศร้าโศกอยู่เสมอ อธิบายเกี่ยวกับความหมายของการดำทางและความสำคัญของการบรรลุธรรมเพื่อหลุดพ้นจากทุกข์ในชีวิต.

หัวข้อประเด็น

-ความร้อนใจ
-พระอรหันต์
-หนทางแห่งธรรม
-การหลุดพ้น
-ปัญญาและการเจริญสติ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

พระอรหันต์ไม่มีความร้อนใจ หมอชีวกมายังสำนักพระศาสดาโดยเร็ว ภายในอารามนั้นแล ทุกถามว่า "พระอัจฉา ความร้อนเกิดขึ้นในพระศรีของพระองค์ หรือไม่?" พระศาสดาตร์ว่า "ชิวา ความร้อนทั้งปวงของ ตกาศสงบราบคาบแล้ว ที่ควรไม้โพธิพฤกษ์นั้นแล" ดังนี้แล้ว เมื่อจะ ทรงสืบอนุสนธิแสดงธรรม จึงตรัสพระคาถานี้ว่า :- "ความร้อน ยอมไม่มีกว่าผู้มีทางไกล อันถึงแล้ว หาทวามเศร้โศกมิได้ หฤพ้น แล้วในธรรมทั้งปวง ผู้จะคลเลเครื่องร้อยรัด ทั้งปวงได้แล้ว." [[อ่านรถ]] บรรดาบาทเหล่านั้น ว่า คตูกูโน ได้แก่ ผู้มากมายไกลอันถึง แล้ว ชื่อทางไกลมี 2 อย่าง คือทางไกลคือดารา ทางไกล คือภูษะ บรรดาทางไกล 2 อย่างนั้น ผู้ดำทางกันดาร ยังไม่ถึงที่ ๆ คนปรารถนาพึงใด ก็ชื่อว่าผู้ดำทางไกลเรือนไปเพียงนั้น แต่ เมื่อทางไกลนั้นอนง่วงแล้ว ย่อมเป็นผู้ตัวว่าทางไกลอนถึงแล้ว ฝ่ายสัตว์ทั้งหลายแม่ผู้อาศัยวังดู ตนยังอยู่ในวังดูเพียงใจ ก็ชื่อว่า ผู้ดำทางไกลเรือนไปเพียงนั้น มีคำถามอดเข้ามาว่า เพราะเหตุ ไร เพราะความที่วังดูอันธนัยให้สิ้นไปไม่ได้ แม้พระ อริยบุคคลทั้งหลายมีพระโสดาบันเป็นต้น ก็ชื่อว่าผู้ดำทางไกล
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More