ประโคม - พระธรรมปิฏกฐ์ ฉบับแปล ภาค ๔ - หน้า 75 พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค 4 หน้า 77
หน้าที่ 77 / 227

สรุปเนื้อหา

ในบทนี้การพูดถึงความหมายของบาปและธรรมที่บัณฑิตควรประพฤติ โดยบอกว่าบัณฑิตไม่ทำบาปจากเหตุบุคคลอื่น ไม่ปรารถนาทรัพย์หรือแผ่นดินจากกรรมที่ไม่ดี และทำความสำเร็จตามธรรม ไม่ทำบาปแม้เพื่อผลประโยชน์ของคนอื่น ในที่สุดพูดถึงผลแห่งการปฏิบัติที่นำไปสู่การบรรลุอริยผล ทำให้ชาวบ้านหลายคนเข้าถึงอริยผลได้ เช่น โสดาปัตติผล.

หัวข้อประเด็น

-ความหมายของบาป
-ธรรมของบัณฑิต
-การไม่ปรารถนาจากกรรมที่ไม่ดี
-อริยผลที่บรรลุได้

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโคม - พระธรรมปิฏกฐ์ ฉบับแปล ภาค ๔ - หน้า 75 [ แก่ธรรม ] บรรดาบาปเหล่านั้น กล่าววา น อุตฺตเหตุ ความว่า ธรรมค บัณฑิต ย่อมไม่ทำบาป เพราะเหตุแห่งบาปหรือเหตุแห่ง บุคคลอื่น กล่าวว่า น ปฏฺมมิจฉู ความว่า บัณฑิตไม่พึงปราถนาบุคคล หรือทรัพย์ หรือแว่นแคว้น ด้วยกรรมอันลามก บัณฑิตเมื่อปราณา แม้สิ่งเหล่านั้น ย่อมไม่กระทำกรรมมานเลย กล่าวว่า สมุทริมกตฺโต ความว่า บัณฑิตไม่พึงปราถนา แม้ ความสำเร็จเพื่อคน โดยไม่เป็นธรรม อธิบายว่า บัณฑิตย่อมไม่ทำบาป แม้เพราะเหตุแห่งความสำเร็จ กล่าวว่า สิตวา ความว่า บุคคลธัปทินานนี้นันเอง Python ผู้มีศีล มีปัญญา และตั้งอยู่ในธรรม อธิบายว่า ไม่พึงเป็นอย่างอื่น ในภาคจบเทศนา ชนเป็นอันมาก บรรลุอริยผลทั้งหลายม โสดาปัตติผลเป็นต้น ดังนี้แล เรื่องพระเณรผู้ตั้งอยู่ในธรรม จบ.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More