พระเทพภิรมย์สีลสา: การเทศนาของพระศาสดา พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค 4 หน้า 94
หน้าที่ 94 / 227

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงการเทศนาของพระศาสดาเกี่ยวกับพระเทพภิรมย์สีลสา ซึ่งได้กล่าวถึงความทุกข์ที่เกิดจากการเก็บอาหารและชีวิตของภิกษุ โดยมีการแปลความหมายของบทคาถาและคำสอนต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้อาหารและการดำเนินชีวิตในฐานะภิกษุ เนื้อหายังเน้นในเรื่องการเข้าใจคำสอนที่ถูกต้องตามหลักธรรมที่ถูกบัญญัติไว้เพื่อเป็นแนวทางในการดำเนินชีวิตอย่างมีคุณค่า เพื่อให้เห็นความสำคัญของการปฏิบัติตามศีลและการส่งต่อความรู้.

หัวข้อประเด็น

-พระเทพภิรมย์สีลสา
-การเทศนาของพระศาสดา
-การใช้ชีวิตของภิกษุ
-ความหมายของสิกขาขา
-การจัดการอาหารในธรรมะ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค2- พระฉัททันต์ปฐมกษัตริย์แปล ว่า ภาค ๕ - หน้าที่ 92 3. เรื่องพระเทพภิรมย์สีลสา : [ ๑๓ ] [ คำถามเบื้องต้น ] พระศาสดาประทับอยู่ในพระเทศน์ นทรทรงปรารภท่านพระภูสีสา ตรัสพระธรรมเทคนิคว่า "เลย สุนัขโย นกฏิ" เป็นต้น. [ ทรงบัญญัติสนิทริยา สิกขาขา ] คงได้สั่งมา ท่านนั้นเที่ยวบินทบาตถนนหนึ่ง ภายในบ้าน ทำฉันก็กินแล้ว ที่ขามอเดี๋ยก็เอา ลงไปรักษาแพรกไว้ คิดเห็นว่า "ขึ้นชื่อว่าการเที่ยวแสงหาบนบาตรไป เป็นทุกข์" ยังวันเล็กน้อยใหล่ลงไป ด้วยสุขในอานแล้ว, เมื่อก็ต้องการด้วย อาหารมืมี, ย่อมฉันข้าวตาก้อน. พวกภูมิรู้เขาตื่นแล้วทุกความ นั่นแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า พระศาสดาทรงบัญญัติสิกขาขาแก่ ภิกษุทั้งหลาย เพื่อประโยชน์ในงานการส่งต่อไปในเพราะทูนับแล้ว ก็อดเมื่อจะทรงประกาศความหาโทษมิลได้แห่งพระเถร เพราะการเก็บ อาหารนั้น อันพระเถรอภัยความมักน้อย ท่านน้อมมิให้ทราบบัญญัติ สิกขาบาท เมื่อจะทรงสนับสนุนแสดงธรรม ได้ตรัสพระคาถานี้ว่า :- * สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยารัชชานุวรรธ ทรงแปลเป็นตัวอย่าง. ก.บทว่า อายสมา แปลตามพยัญชนะว่า ผู้มีอายุ แต่ตามอรรถไม่ให้หมายว่า สูง อายุ เป็นที่พวกภิกษุใช้อยากกันเองโดยโอวาทเครา จึงแปลว่า "ท่าน " ข.บทว่าเป็นทุกข์นี้ ในภาษาไทยใช้เหมือนอุปมาคือ กล่าวอธิบายอันหนึ่ง กล่าว ผลอย่างหนึ่ง. ในที่นี้กล่าวเหตุ เคยแปลว่า นำมาซึ่งทุกข์ หรือยังทุกข์ให้เกิด แปลไว้ท่าพัทธ์เพื่อจะได้แปลว่า.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More