พระอุโบสถภูมิอันชำระแปล ภาค ๔ หน้า ๒๒๔ พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค 4 หน้า 226
หน้าที่ 226 / 227

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับนางภิญญ์ที่ได้บรรพชาแล้วทำสมาธิและศึกษาธรรมทั้งหลายในสำนักของพระศาสดา การแสดงถึงความสำคัญของการเห็นธรรมและชีวิตที่เป็นอยู่ในธรรมของผู้ปฏิบัติ จนถึงความคิดที่ว่า ความเป็นอยู่ที่เห็นธรรมแม้จะเพียงวันเดียว ย่อมมีค่ากว่าการใช้ชีวิต ๑๐๐ ปี โดยไม่เห็นธรรม ซึ่งย้ำให้เห็นถึงคุณค่าของการปฏิบัติธรรมในคำสอนของพระพุทธเจ้า

หัวข้อประเด็น

-นางภิญญ์
-การทำสมาธิ
-การเห็นธรรม
-ความสำคัญของการปฏิบัติธรรม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - พระอุโบสถภูมิอันชำระแปล ภาค ๔ หน้า 224 ของบุตรที่เหลือ ก็ต่างอย่างนั่นเหมือนกัน ตั้งแต่ต้นคิดคนใหญ่ก็กล่าวว่ารงจุดเดียวกัน แม้ในเวลาที่ นางไปเรือนของอธิษฐานั้น นางฤดูฤทุชน คิดว่า "ประโยชน์ อะไร ด้วยการอยู่ในสำนักของคนเหล่านั้น เราก็เป็นนางภิญญ์ดี เป็นอยู่" แล้วไปสำนักของนางภิญญ์ที่บรรพชากแล้ว นาง ภิญญ์ฤทุชนล่นนางบรรพชากแล้ว นางได้อุปสมบทแล้วปรากฎ ชื่อว่า "หนูฤทุชนเกรีย" นางคิดว่า "เราบรรชเวเวลา เราไม่ ควรเป็นคนประมาณ" จึงท่าวัตปฏิบัติแก่นางภิญญ์นี้หลาย คิด ว่า "จักทำสมาธิตลอดคืนยันรุ่ง" จึงอามือจับเสาต้นหนึ่งที่ ภายใต้ปราสาท เดินเวียนเสานั้นทำสมาธิ ธนเมื่อเดินจงกรม ก็อาจจับต้นไม้ด้วยคิดว่า "สิริะของเราพิงกระแทกต้นไม้หรือที่ ไหน ๆ ในที่มีด" ตั้งแต่แล้ว เดินเวียนต้นไม้ั้น ทำสมาธิ นึกถึงธรรมด้วยคิดว่า "จักทำตามธรรมที่พระศาสตรางแสดง" ตามระลึกถึงธรรมอยู่เท่านั้นสมาธิ ลำดับนั้น พระศาสตราประทับนั่งในพระคันธกุฎีเทียว ทรง แผ่พระรัฐมีไปติปลรับนั่งตรงหน้า่า เมื่อองค์สนานครสวล" พูด- ปุดดิกา ความเป็นอยู่แม้ครู่เดียว ของผู้เห็นธรรมที่แสดงประเสริฐ กว่า ความเป็นอยู่ ๑๐๐ ปี ของผู้ไม่ก็ดี ก็ไม่เห็นธรรมที่เราแสดง เมื่อจะทรงสัปสนธิแสดงธรรม จึงกลสารพระคาถานี้ว่า :- " กูผู้ใด ไม่เห็นธรรมอันยอดเยี่ยม พึงเป็นอยู่ ๑๐๐ ปี ความเป็นอยู่วันเดียว ของผู้เห็นธรรม
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More