พระอาทิตย์ท้องถิ่นแปล ภาค 5 - หน้า 127 พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค 4 หน้า 129
หน้าที่ 129 / 227

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาในหน้า 127 ของ 'พระอาทิตย์ท้องถิ่นแปล' เล่าเรื่องการพบกันระหว่างคนบ้านนอกกับบูรฑูเกี่ยวกับน้ำผึ้ง คนบ้านนอกนำรวงผึ้งเข้ามาในพระนครเพื่อให้แก่เจ้านาย แต่เมื่อบูรฑูเสนอทรัพย์สิน, คนบ้านนอกกลับปฏิเสธที่จะขายน้ำผึ้ง โดยพยายามเพิ่มราคาและต่อรอง ซึ่งแสดงถึงการค้าและกลยุทธ์การต่อรองในสังคมโบราณ. รวมน้ำผึ้งยังเป็นสัญลักษณ์ของมูลค่าและความหายากในบริบทดังกล่าว.

หัวข้อประเด็น

-การแลกเปลี่ยนทรัพย์สิน
-น้ำผึ้งในสังคมโบราณ
-การต่อรองราคา
-บทบาทของบูรฑู
-สังคมและวัฒนธรรมในพระนคร

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - พระอาทิตย์ท้องถิ่นแปล ภาค 5 - หน้า 127 ไม่ได้เห็นน้ำผึ้งจิบเลย, ส่วน น้ำผึ้งสุ่มมาก, ชนเหล่านี้ให้คนถือเอา ทรัพย์ 5 พันแล้ว ส่งไปประตูแห่งพระนครทั้ง 4 เพื่อขอการ น้ำผึ้งดิบ. ครั้งนี้ คนบ้านนอกอกหนึ่งมาเพื่อจะเยี่ยมบ้าน เห็น รวงผึ้งในระหว่างทาง ได้น้ำผึ้งให้ไปแล้ว ตัดกิ่งไม้คล้องรัง พร้อมทั้งคอนั้นแลเข้าไปสู่พระนครด้วยตั้งใจว่า " เราจักให้แก่นาย บ้าน." บูรฑูผู้เมื่อชงการน้ำผึ้งพบคนบ้านนอกนั้นแล้ว จึงว่า " ท่านผู้เจริญ น้ำผึ้งท่านขายไหม ?" คนบ้านนอก. ไม่ขาย นาย. บูรฑู. เชิญท่านรับเอาหาปะนะนี้แล้ว จงให้ (รวงผึ้งแก่นั่น) เกิด. คนบ้านนอกนั้นคิดว่า "รวงผึ้งย่อมไม่ถึงค่ามั่บว่าบาทหนึ่ง; แต่บูรฑูนี้ให้ทรัพยหาปะนะหนึ่ง, เห็นจะเป็นผู้มีหาปะนะมาก, เรา ควรขึ้นราคา." ลำดับนั้น เขาจึงตอบกับบูรฑูนั้นว่า " ฉันให้ ไม่ได้." บูรฑู. หากระนั้น ท่านจงรับเอาทรัพย์ 2 กาหาปะนะนี้แล้ว คนบ้านนอก. แม่ด้วยทรัพย์ 2 กาหาปะนะฉันก็ไม่ให้. เขาขึ้นราคาด้วยอาการอย่างนั้น จนถึงบูรฑูนั้นกล่าวว่า " ถ้า กระนั้น ขอท่านจงรับเอาทรัพย์นี้ไป หาปะนะนี้" ดังนี้แล้ว น้อมหมู่ ๑. อดุลมุฏิ ตามศัพท์แปลว่า น้ำผึ้งสด, ได้แก่น้ำผึ้งที่ผ่านมาใหม่ ๆ งไมได้ม หรือเลย, เพื่อให้ความเข้าใจกับน้ำผึ้งสุทธิ คำพูดนี้จึงควรแปลว่า น้ำผึ้งดิบ.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More