ข้อความต้นฉบับในหน้า
เหนือกัน ส่วนพระนิพนธ์อันพระดาหาแปล ภาค ๔ หน้า 84
เหมือนกัน ส่วนพระนิพนธ์พงษ์วัดจะให้สันไปได้แล้วอ้อม
เป็นผู้ชื่อว่ามางใกล้อื่นถึงแล้ว แก่พระนิพนธ์นั่นผู้มีทางใกล้อื่น
ถึงแล้ว
บทว่า วิโลสากูล คือชื่อว่าผู้ทุกข์โศกสมใจได้ เพราะความ
ที่ความเศร้าโศกมีวิสัยจะเป็นมูลปรากฎไปแล้ว
บทพระคาถาว่า วิปุโลฏฐสุส สพุทธิ คือผู้สุดพันแล้วใน
ธรรมนี้ชนชื่นเป็นต้นทั้งปวง
บทพระคาถาว่า สุพพคนูปุปปัณสูส คือ ชื่อว่าผู้ละกลีสลดเครื่อง
ร้อยรัดทั้งปวงได้ เพราะความที่กลลดเครื่องร้อยรัด ๔ อย่างอันคน
ละได้แล้ว
บทพระคาถาว่า ปรีชโฉ ใน วิชฺชิติ คำว่า ความเร่าร้อน
มี ๒ อย่าง คือ ความเร่าร้อนเป็นไปทางกายอย่าง ๑ ความเร่าร้อนเป็ไปทางจิตอย่าง ๑ บรรจบความเร่าร้อน ๒ อย่างนั้น ความเร่าร้อน
เป็นไปทางกาย ซึ่งเกิดขึ้นแก่พระนิสาสฟ ด้วยสามารถแห่งสัมผัส
มีหนาวและร้อนเป็นต้น ยังไม่ได้บังเลย หมอศีรษฐูลกามหมายถึงความ
เร่าร้อนอันเป็นไปทางกายนี้ แต่พระศาสตรพลิกแพลงพระเทศนา
ด้วยสามารถแห่งความเร่าร้อนไม่เป็นไปทางจิต เพราะความที่พระองค์เป็นพระธรรมราช
จึงกล่าวว่า " ชิกา ผู้มีอาย ก็โดยปรมัตถ์ ความเร่าร้อน ย่อมไม่มี
แก่พระนิสาสผู้เห็นนั่นนั่น"