วินัยมหาวรรค ตอน 2 ตติยสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย มหาวรรค ตอน 2 หน้า 14
หน้าที่ 14 / 183

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาในตอนนี้เสนอเกี่ยวกับการปฏิบัติพระวินัยในสงฆ์ โดยมีการอธิบายถึงความหมายของคำว่า 'อภิวา' และรายละเอียดเกี่ยวกับการปฏิญาณของสงฆ์ในการประกาศในวันอภิวา พร้อมสอนให้เข้าใจถึงการปวรณาของสงฆ์อย่างถูกต้อง เพื่อรักษาวินัยให้กับประเพณีพระพุทธศาสนาอย่างเคร่งครัด โดยจะมีการปวรณาในลักษณะต่าง ๆ เช่น 3 ครั้ง, 2 ครั้ง และ 1 ครั้งตามที่ตั้งไว้

หัวข้อประเด็น

-การปฏิบัติพระวินัย
-การปวรณาของสงฆ์
-ความสำคัญของวันอภิวา
-หลักการรักษาวินัยในสงฆ์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - ตอบสนับปาสติกา อรรถกถาวินัยมหาวรรค ตอน 2 - หน้าที่ 240 ความทีกกุมนั่งพระวินัยเป็นหลักประพฤติ ชื่อวินายูรงบารคา จริงอยู่ ภูกผู้อ้างอยู่ว่า "ขอท่านผู้มีอุจฉาวาสกล่าวข้าวเจ้า เกิด" ดังนี้ สมเด็จพระผู้มีพระภาคตรัสว่า "เธอถืออดอากับอัตติ และเธออ่อนตั้งพระวินัยไว้เป็นหลักอยู่" [ปวณาณวิธี] อุทติตันไดนามว่า สัพพังทกิจินีว่า สุขา เม ภนฺเต สุโม, อชฺช ปวรณา, ยิต สุขสฺเสุปฺกุลิสุ, สุขไม ปวารฺยุ แปลว่า "ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ของสงฆ์จงฟังก่อนเถิด วันนี้เป็นวันอภิวา ถ้วา ความพร้อมพรั่งของสงฆ์ก็ที่แล้ว สงฆ์มีงิ้งอวรามา" ดังนี้. ก็มื่อสวดประกาศอย่างนี้แล้ว สงฆ์จะอภิวา 3 ครั้ง 2 ครั้ง และ ครั้งสุดก็อีกคราว, และจะปฏิญาณให้กุฏิฏฐิธรรมเท่ากัน ปฏิญาณพร้อม กันเท่านั้นไม่ควร ๑๖๒ องค์ เมื่อสวดประกาศว่า เตวติป ปวรณา แปลว่า "สงฆ์พึงปวรณา 3 ครั้ง ดังนี้ ต้องปวรณา 3 ครั้งเท่านั้นจึงควร, จะปวรณาอย่างอื่น หาว่าไม่. เมื่อสวดประกาศว่า ทุตวาจิ ปวรณา แปลว่า "สงฆ์พึงปวรณา 2 ครั้ง ดังนี้ จะปวรณา 2 ครั้งหรือ 3 ครั้งก็ควร แต่จะปวรณาเพียงครั้งเดียว และ ปวรณามิพรรษาเท่ากันหาภควรไม จm เมื่อสวดประกาศว่า เอกวาจิก ปวรณา แปลว่า "สงฆ์พึงปวรณา ครั้งเดียว" ดังนี้ จะปวรณา ครั้ง เดี่ยว 2 ครั้ง หรือ 3 ครั้งก็ควร. แต่จะปวรณามิพรรษาเท่ากันเท่านั้น หาภควรไม่. เมื่อสวดประกาศว่า สมานุสลิก ปวรณาแปลว่า
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More