การอธิฐานปวารณาในพระวินัย ตติยสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย มหาวรรค ตอน 2 หน้า 18
หน้าที่ 18 / 183

สรุปเนื้อหา

บทความนี้เกี่ยวกับการอธิฐานปวารณาในวันต่างๆ ของสงฆ์ โดยมีการอธิบายถึงคำที่ใช้ในปวารณาและวิธีการทำบุญที่เหมาะสมในวันปวารณา ผู้เขียนได้เน้นไปที่ความสำคัญของการตั้งอัตติและการปฏิบัติตามพระวินัย รวมถึงการทำบุญในโอกาสต่างๆ พร้อมกับยกตัวอย่างการอธิฐานตามที่กำหนดในพระบาลี.

หัวข้อประเด็น

-การอธิฐานปวารณา
-คำอธิฐานในวันปวารณา
-การทำบุญในพระวินัย
-ความหมายของคำในพระบาลี
-การปฏิบัติที่ถูกต้องตามธรรม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - ตถิตสนฺตาปาสาทิกา ธรรมกถาพระวินัย มหาวรรค ตอน ๒ - หน้าที่ 244 ถ้าวันปวารณาเป็น ๑๔ คำ ภิกษุผู้อยู่รูปเดียวพึงอธิฐานอย่างนี้ ว่า อญฺญ ม ปวารณา ฉตฺทุทสสี แปลว่า "ปวารณาของเราวัน นี้ ๑๔ คำ" ถ้าเป็นวัน ๑๕ คำ พึงอธิฐานอย่างนี้ว่า อญฺญ ม ปวารณา ปณฺฑรสี แปลว่า "ปวารณาของเราวันนี้ ๑๕ คำ" คำว่า ตถุทูปวรนาย อปฺปูติ เป็นต้น มีนัยดังกล่าวแล้ว นั่นแล. ข้อความ ปุน ปวารณทู ป มีความว่า พึงทำบุญทุกเมื่อแล้วตั้งอัตติ ปวรณา ตั้งแต่พระสงฆ์เถรลงมาอีก คำที่เหลือพึงทราบตามนัยที่กล่าว ไว้แล้ว ในอุปลาสัทธิธรรมานาเกิด. [อติเรtaientนวดติฏกก] วิจินฉันใข้อว่ำ อาณุกุตกี อาวสิกาน อนุวุตติทฏพ์ พิ่ง ทราบดังนี้ :- พวกภิกษุผู้ฉันฉันนี้ พึงทำบุญกิจจา อญฺญ ปวารณา ฉตฺทุทสี. นั่นแล, แม้ในปวารณวัน ๑๕ คำก็มีเช่นเดียวกัน. ในบทธที่สุดแห่งพระบาลีนี้ว่า อาวสิกานิ นิทิสึม คณุตา ปวารณทูพิมพ์ฉบับอร่อยในสำนักของเธอ, อย่าพึงตั้งอัตติ สองอย่างในโรงอุปลาสกเดียวกัน. แม้ว่า มีภิกษุ ๔ รูป ๓ รูป ๒ รูป
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More