ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - ตลอดสนิบาปสำหรับอรรถาธิบายพระวินัยมหาวรรค ตอน ๒ - หน้าที่ 282
สองบทว่า สกุลามัง วา วุฏฒิมัง วา มีความว่า ในโอกาส
ตามที่กำหนดแล้วไม่ควรทำการตัด หรือการผ่า หรือการเจาะ หรือการ
กรีดด้วยของมีดอย่างใดอย่างหนึ่ง เป็นมีดก็ตาม เป็นมีดตาม หนาม
ก็ตาม หอกก็ตาม สะเด็ดก็ตาม เสี้ยนก็ตาม เพราะกรรมมีการตัด
เป็นต้นนั้นทั้งหมด ย่อมเป็นสักถกรรมแท้
อันยัง ไม่ควรทำสักถกรรมบิรหัวไส้ด้วยองอย่างใดอย่างหนึ่ง
จะเป็นหนังก็ตาม ผักก็ตาม เพราะว่า การบิรนั้นทั้งหมด เป็นวัตถิ-
กรรมเหมือนกัน
ก็ในพระบาฮนี้ คำว่า “สองนิวั byอริบแห่งที่แคบ” นี้
ตรัสหมายเอาเฉพาะสักถกรรม ส่วนวัตถิกรรมทรงห้ามแต่ในที่แคบ
เท่านั้น แต่จะหยอกน้ำดำก็จะรัดด้วยมือชนิดใดชนิดหนึ่งก็ดี
ที่หัวไส้กัน ควรอยู่ ถ้าหัวไส้บาดออกด้วยน้ำดำหรือเชือกนั้น,
เป็นอันบารด้วยดี
ถึงโรคอันทะโทษไม่ควรทำสักถกรรม เพราะเหตุนี้ ไม่ควร
ทำสักถกรรมด้วยคิดว่า “เราจะผ่านฉันทะคลายเคืองออกทำให้หายได้.”
แต่ในทางอย่างด้วยไฟและเทาย ไม่มีการห้าม
ในทารหนัก กรวยไปไม้และเกลียวชุดที่ยามแล้วดี หลอด
ไม่ไผ่ดี ซึ่งสำหรับรับหยอดน้ำดำ และการกรอกน้ำมัน ย่อมควร
[ว่าด้วยเนื้อก็อ ควรและไม่ควร]
[๘๕๗] กล่าวว่าปวดตุมล ได้แก่ เนื้อของสัตว์ที่ตายแล้ว
นั่นเอง.