พระอุบาทว์กับภิกษุผู้มีพระภาค ตติยสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย มหาวรรค ตอน 2 หน้า 137
หน้าที่ 137 / 183

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้พูดถึงบทบาทของพระผู้มีพระภาคและภิกษุในเรื่องของการดูแลสุขภาพ โดยมีรายละเอียดเกี่ยวกับการพยาบาลและภาวะของอาบัติในสงฆ์ หากภิกษุจะต้องรับการพยาบาลหรือไม่ และความสำคัญของการทำหน้าที่ดังกล่าวภายในสงฆ์ โดยมีความเห็นถึงอาการเจ็บป่วยที่ส่งผลต่อตัวภิกษุเอง และสิ่งที่ไม่เหมาะสมในการพยาบาล.

หัวข้อประเด็น

-บทบาทของพระผู้มีพระภาค
-ภิกษุในการดูแลสุขภาพ
-อาบัติในสงฆ์
-ความเหมาะสมในการพยาบาล
-อาการเจ็บป่วยของภิกษุ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

การอุบาทว์พระผู้มีพระภาค กับอุปบาทิกิกผู้คงเป็น เช่นเดียวกัน." ข้อความ สมเด็จ อุปฺปชฺชะโท ฟังว่าภิกษ์น่ามี อุปฺปชฺชะเป็นดัง ของภิกฺขุ ไดไม่มีไว้ดังนั้น ภิกฺขุใดเป็นอาคันตุกะ เท่าปรุปเดียว, [๒๔๔] ภิกฺขุนั้น เป็นภาระของภิกฺขุสูง, เพราะ เหตุนั้น เธออันสงฆ์มีงอุปฺปชฺชะ, ถ้าไม่อุปฺปชฺชะ, เป็นอาบัติแก่สงฆ์ ทั้งสิ้น. ก็แต่ ในภิกฺขุทั้งหลายผู้นั่งว่าจะพยาบาล ภิกฺขุใด ไม่พยาบาล ในวาระของตน, เป็นอาบัติแก่อีกนั่นเท่านั้น. แม้พระสงฆ์จะไม่ พ้นจากวาระ. ถ้าสงฆ์ทั้งสิ้นไว้ว่าระแก่ภิกฺขุใหน่ง, หรือภิกฺขุผู้นิบุญด้วย วัตรรูปหนึ่ง รับรองว่า "ขาหเจ้าจักพยาบาลเอง" แล้วปฏิบ้อยอยู่, สงฆ์พ้นจากอาบัติ. ในข้อว่า อภิกฺขุฯ วา อภิกฺขุมิ เป็นอกุ ศึงเห็นใจ ความอย่างนี้ว่า :- ภิกฺขุอาเภาไม่ใช่แจ้งอาพาธอันก็เกินอยู่ตามจริงว่า "เมื่อข้าพเจ้า บริโภคชื่อว่า อาพาธกำเริบ, เมื่อข้าพเจ้าบริโภคชื่อว่า อาพาธค่อย ทูลา, เมื่อข้าพเจ้าบริโภคชื่อว่า อาพาธทรงอยู่.". บทว่า นาํ มีความว่า ผู้ไม่เหมาะะ คือไม่สมควรเพื่อพยาบาล. ลองวา เกษัชฺ สิรวํฏู มีความว่า เป็นผู้ไม่สามารถเพื่อ ประกอบยา.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More