การศึกษาเกี่ยวกับศิลปะกับพระวินัย ตติยสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย มหาวรรค ตอน 2 หน้า 38
หน้าที่ 38 / 183

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาที่นำเสนอเกี่ยวกับศิลปะและวิถีชีวิตของภิกษุในเรื่องพระวินัย สมมติฐานการเป็นอาจารย์ในพุทธศาสนา การแบ่งกลุ่มภิกษุ حسب ประสบการณ์และพรรษา รวมถึงความสำคัญของความเคารพต่ออาจารย์และการแนะนำของพวกเขาในกระบวนการพัฒนาจิตใจและธรรมวินัย.

หัวข้อประเด็น

-ความสำคัญของศิลปะในพุทธศาสนา
-บทบาทของภิกษุในพระวินัย
-การจัดอันดับความเป็นอาจารย์
-การเคารพในอาจารย์
-ความสัมพันธ์ระหว่างภิกษุ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - ตลอดสนั่นปลาสากัก กรรมถวายพระวินัย มหาวรรณ์ ตอน 2 - หน้าที่ 264 เฉพาะ คือเสร็จภาระเลี้ยงชีวิต ด้วยศิลปะใจ, มีความเคารพในอาจารย์ เพราะเหตุแห่งศิลปะนั้น. ในว่า อิฐ โขติภูมิ นี้. บทว่า ติ เป็นเพียงนิมิต, ความว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย.... พึงงามในธรรมวินัยนี้แล. สองบทว่า ยติ ดูหมิ่น ได้แก่ ยติ ดูหมิ่น อีกอย่างหนึ่ง มีคำ ธิบายว่า ยติ ดูหมิ่น จริงอยู่ บาปา คือ ยติ ใช้ในรถแห่ง ยติ สัปพ์. วิจินฉันใดคำว่า อาจิรสูญ เป็นอาติ เฉพาะอาจารย์สีพวกนี้ คือ บรรพชาภารย์ อุปสัมปทาจารย์ นิสสยาจารย์ อุทาหาลาจารย์ จัด เป็นอาจิรย์แทนในบางว่า อาจิรสูญ นี้. ภิกษุมีพรรษาหมาก พอเป็น อาจารย์ของภิกษุไม่มีพรรษาได้. ด้วยว่า ภิกษุไม่มีพรรษานั้นจึง อาศัยเธอในกาลที่นิมพรรษา, ด้วยประการอย่างนี้ แม้ภิกษุเหล่า นี้ จัดว่าผู้พอเป็นอาจารย์ได้แท้คือ "ภิกษุผู้พรรษาเจ็ด พอเป็น อาจารย์ของภิกษุพรรษาเดียวได้, ผู้มิพรรษาแรรค พอเป็นอาจารย์ของผู้มิพรรษา สามได้, ผู้มิพรรษา สิบ พอเป็นอาจารย์ของผู้มิพรรษาสามได้, ผู้มิพรรษา สิบ พอเป็นอาจารย์ของผู้มิพรรษาสี่ได้," ฝ่ายภิกษุผู้เป็น เพื่อนเห็น เพื่อนคบของอุปชาอาย์ก็ดี, ภิกษุเหล่าใดเหล่านี้ ซึ่งเป็น ผู้ใหญ่กว่าภิษฐานดีดี, ภิกษุเหล่านั้นทั้งหมดชื่อว่า ผู้บูญูอุปชา, เมื่อภิกษุทั้งหลายมีประมาณเท่านี้ ไม่สมรองเท้ากว่ากวาเกิดอยู่ ย่อมเป็น อาบัติแก่ภิกษุผู้สวมรองเท้าก้าวเดิน. ที่ชื่อว่าอาพาเป็นหน่อที่เท้า ได้นแ้เนือกล้ายเดี๋ยว เป็นน้องยื่นออกจากพื้นท่า.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More