ตรัสสนัปจากกา: อรรถกถาพระวินัย มหาวรรค ตอน 2 ตติยสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย มหาวรรค ตอน 2 หน้า 147
หน้าที่ 147 / 183

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาในตอนนี้พูดถึงการวินิจฉัยและแนวทางในการถวายของทายกในโอกาสต่างๆ โดยเฉพาะในสมิโมส ผู้พูดมีบทบาทสำคัญในการสื่อสารเพื่อทำความเข้าใจในคำว่า 'สมา' รวมถึงความสำคัญของการอยู่ในสมานต่างๆ และการแบ่งปันตามหลักการที่เหมาะสม จากการวิเคราะห์ในตอนนี้ได้ข้อสรุปว่า การทำความเข้าใจในรายละเอียดย่อมช่วยให้การถวายเป็นไปอย่างถูกต้องและเหมาะสม.

หัวข้อประเด็น

- วินิจฉัยในสมิโมส
- ภิญญาและการถวายของทายก
- ความสำคัญของการสื่อสารในสมัยโบราณ
- การแบ่งปันตามหลักการ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - ตรัสสนัปจากกา อรรถกถาพระวินัย มหาวรรค ตอน 2 - หน้าที่ 372 ภิญญูอยู่ภายในสมิโมสินั่นเท่านั้น. ในชมปิสมา รัฐสมา ทิปสมา และจักรวาสิมา มี วินิจฉัยชัดดังกล่าวแล้วในสมิโมสนั้นแน่น. ก็ถ่าว่าทายกอยู่ชมพุทธ ไม่ว่า "ข้าพเจ้าเววสงใน ตามพิปปติวิป" ภิกษุแม่รูปหนึ่ง ไปจากตามพิปปติวิป ย่อม ได้เพื่อรับแทนภิญญาทั้งปวง. แม้กว่าภิกษุผูชอบพ่อนรูปหนึ่งใน ชมพุวิปนั้นเอง จะรับส่วนแทนภิญญาทั้งหลายที่ชอบพอกับไซ กไม่ ฟังห้ามเธอ. ในการถวายของทายก ผูถวายของพวกนี้สมา พิง ทราบวินิจฉัยอย่างนี้ก่อน. ฝ่ายทายกใด ไม่เข้าใจว่าจะพูดว่า "ในสมิโมสน" รู้แต่เพียง คำว่า "สมา" อย่างเดียวเท่านั้น มาว่ากล่าวว่า "ถวายแก่สมา" หรือว่า "ถวายสงผู้อยู่ในสมา" ดังนี้. พึงถามทายกนั้นว่า "ขึ้นชื่อว่ามา มีหลายอย่าง ท่านพูดหมาย เอาสมมาอย่างไหน?" ถ้าเขากล่าวว่า "ข้าพเจ้าไม่รู้จักว่า "สมาชนิดใดน" สมผม ต้องอยู่ในสมา จงแบ่งกันถือเอกเกิด" ดังนี้ สมในสมานไหน จะพึงแบ่งกัน ? ได้อนันต์ ภิกษุทั้งหลายกล่าวว่า ท่านว่าที่ว่า "ธรรมคอวิปวาสสมา พิงแบ่งกัน." ลำดับนั้น ภิกษุทั้งหลายกล่าวว่า ท่านว่า "ธรรมคอวิปวาส- สมา ประมาณตั้ง ๓ โยนก เมื่อเป็นเช่นนี้ ภิกษุผู้ถืออยู่ใน ๓ โยนก
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More