ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - ตยสงั คมัง ปสาทิกา จักกากระวังวัน มหาวรรค ตอน 2 - หน้าที่ 344
หนึ่ง ๆ ซึ่งมีราคาผลและสลิมกษะปนะ ฯ พอทั่วกัน อย่างนั้น นั่นเป็น
การดี ถ้าไม่พอ ผืนใด ดีราคาเก้าหรือแปลกกษะปนะ ผืนนี้
ควบกับผืนอื่น ซึ่งมีราคาหนึ่งกาหบ และมีราคาสองกาหปนะ
จัดส่วนเท่า ๆ กัน โดยอาญู้นี้แล
ข้อว่า ภิกขุ คณุตฺตา วคฺคี พนฺทธา มีความว่า หาว่า
เมื่อแจกทีละรูป ๆ วันไม่พอ เราอนุญาตให้นับภิกขุพวกละสลิมรูป ๆ
จัดส่วนจิรอเป็นหมวด ๆ หมายจะสันส่วน ๆ ทำให้บัดอันเดียวกัน
ตั้งเป็นส่วนจิรอหนึ่ง เมื่อส่วนจิรอได้ตั้งไว้เช่นนี้แล้วจึงให้บ
ลวก, แมภิกขุเหล่านั้น ก็พึงจับลวกแจกกันอีก
วินิจฉัยในข้อว่า สามเณรานู อุทฺฐปฺวิโส นี้ พึงทราบ
ดังนี้:-
สามเณรเหล่าใด เป็นอิสระแก่ตน ไม่ทำการที่ควรทำของ
ภิกษุสมํ ขวนขวายในอาทิสและปริโมจา ทำวัตตปฏิบัติแก่อาจารย์
และอุป ชโยม้าเท่านั้น [๒๒๓] ไม่ทำแก่ภิกษุเหล่าอื่น, เฉพาะ
สามเณรเหล่านั้น พึงให้ถึงส่วน ฝ่ายสามเณรเหล่าใด ทำกิจที่ควรทำ
ของภิกษุสงฆ์เท่านั้น ทั้งปุรเศรษฐ และปิยาจิต, พึงให้ส่วนเท่ากัน แก่
สามเณรเหล่านั้น แต่ค่านี้กล่าวเฉพาะด้วยอากาจิวร์ ซึ่งเกิดขึ้นหลัง
สมยุ ได้เก็บไว้ในเรือนคลัง, ส่วนอากาจิวร์ต้องให้เท่า ๆ กันแท้
ผ้าจำพรรษา ซึ่งเกิดในที่นั้น ภิกขุและสามเณรพึงทำ
ผิดกิจกรรมเสง่มีผูกไว้มากเป็นต้น แล้วถือเอา รัฐอยู่ การทำก
หัตถกรรมมีผูกไม้กวาดเป็นต้น เป็นวัตรของภิกษามานรรัยทั้งปวง ใน