ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - ดวงมันทาปาสก้า ภิกษาผู้กอวามเด็น หม่าวรรรค ตอน ๒ - หน้าที่ 252
สองอุโบสถ คือ ที่ 4 กับที่ 5 เป็นอุตตะรสี องค์ อุโบสถ ที่ 3 แม้ตามปกติ ย่อมเป็นอุตตะรสีเหมือนกันนะวันนี้เอล ๑๒๕ เพราะเหตุบั้น สองอุโบสถ คือ ที่ 3 กับที่ 4 หรือสามอุโบสถ คือ ที่ 4 ที่ 5 ที่ ควรทำใหเป็นอุตตะรสี หากว่าเมื่อทำอุโบสถที่ 4 ซึ่งเป็นปัจจุบันอุโบสถ ภิกษุผู้ออกความมาตามนั้น ฟังด้วยไซร้, ฟัง ทำอุโบสถที่ 5 ให้เป็นอุตตะรทุกสี สองอุโบสถย่อมเป็นอุตตะรสี แม้ ด้วยประการอย่างนี้ เมื่อทำอย่างนั้น ภิกษุเจ้านั้นนี้ จักไหวรณา สำหรับอุโบสถสัปปนาในวัน 13 คำ หรือ 14 คำ ของภิกษุผู้ออก ความมาตามกัน ก็แลเมื่อจะอรณาอย่างนั้น พึงวางเหล่าสามเณร ไว้ภายนอกสิมา ได้ฟังว่า 'ภิกษุผู้ออกความมาตามกันเหล่านั้น พากันมา' พึงริบประชมก้นอรณาเสียเร็จฯ เพื่อแสดงความข้อนี้ พระผู้พระภาคเจ้าตรัสว่า 'ภิกษุทั้งหลาย ถ้าภิกษุทั้งหลายผู้นั้น ความมาตามกัน ทำความทะเลาะกัน ก่อการวิวาทกันทำความ อึดอัด ก่ออภิณีสงฆ์ พากันมา สู่วามุภิกษุเจ้าถิ่นเหล่านั้น พึงประชุมปรารภกันเสียเร็วฯ ครับนปารณาเสร็จรวด ครับนปารณาเสร็จแล้ว พึงพูดคะ ว่า พวกเธอว่า 'ผู้บัออายุ พวกเราปราบปรามแล้วแล้ว พวกท่านสำคัญ อย่างใด, จงกระทำอย่างนั้นเดี'
บทว่า อลิสิตตา มีความว่า ผู้มีได้ฉันแจง คือได้ทำการ ตระเตรียม เพื่อ้องการ จะให้ทราบรม, อธิบายว่า เป็นผู้ฉัน พวกเจ้าถ่านท่านรู้ไม่.
สองบทว่า เตศ วิญญุตวา มีความว่า พวกภิกษุผู้นั้นพึงทำ