พระยืนมหาวรร ตอน ๒ ตติยสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย มหาวรรค ตอน 2 หน้า 52
หน้าที่ 52 / 183

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาในบทที่ ๒ ของพระยืนมหาวรร อธิบายเกี่ยวกับการอนุญาตและบทประโยคที่ใช้ในวรรณกรรมไทย โดยเฉพาะการใช้สิ่งต่าง ๆ เช่น น้ำ ไฟ และการเขียนถึงกระบวนการทำให้ร่างกายรู้สึกสบาย นอกจากนี้ยังมีการกล่าวถึงคำที่ใช้ในการปฏิบัติ เช่น ความหมายของภูโคกและครูฤา ที่เกี่ยวข้องกับการทำงานของร่างกายและการบำบัด การใช้ใบไม้ต่าง ๆ ในการสร้างสุขภาพและความสดชื่นแก่ร่างกาย.

หัวข้อประเด็น

-การใช้งานประโยค
-การบำบัดร่างกาย
-วรรณกรรมไทย
-องค์ประกอบของบทสวด
-ความสำคัญของการอนุญาต

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - ตอบสนั่นป่าสักท่าอรรถถาพระยืนมหาวรร ตอน ๒ - หน้าที่ 278 ได้ต่าง ๆ อย่าง บทว่ามาเทศ มีความว่าเจ้าของอนุญาตให้ บรรด่าน้ำไฟให้เต็มหมู ประมาณเท่าวันแล้ว ครบด้วยฝุ่นและ ทรายเป็นต้น ลาดไปไม่เท่ากลมได้ต่าง ๆ ชนิด บนหลุมมัน แล้ว นอนพลิกไปพลิกมาในมัน ด้วยตัวอันกำนั้นแล้ว. บทว่าภูโคก ได้แก่ น้ำที่ต้มเลือดด้วยใบไม้ต่าง ๆ ที่จะ พิ้งหราได้ พิรดตันด้วยใบไม้หลานั้นและน้ำ เข้าระโอม. บทว่าครูฤา ได้แก่ ชูม้า. ความว่า เราอนุญาตให้ใช้ อ่างหรือรางที่มีบันอุ่นแล้วลงในอ่างหรือรางนั้น ทำการนิงให้ เหงื่อออก. สองบทว่า ปฐพาวตี โขติ ความว่า ลมย่อมออกตาม ข้อ ๆ. สองบทว่า โลติติ โมเจตู มีความว่า เราอนุญาตให้กุญ ปล่อยโลติติด้วยมิด. สองบทว่า มุขู อัลิสูรติ มีความว่า เท้าที่ผ่านแล้ว จะ หายเป็นปกติได้ด้วยน้ำเมาใด, เราอนุญาตให้กุญใส่ย่างต่าง ๆ ลง ในกะละมะพร้าวเป็นต้นปรุงน้ำมานั้น, คือ ให้หยูกยาเป็นที่สบายแก่ เท้าทั้งสอง. สองบทว่า ติกกุกณ อุตกุ มีความว่า ต้องการด้วยงา ทั้งหลายที่บดแล้ว.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More