ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - คติสงค์ปลาสักกะ อรรถกถาพระวินัย มหาวรรค ตอน 2 - หน้าที่ 303
เก้อต่าง คือ ผลตก, ผลมะพร้าว, ผลขนุน, ผลสาเข, น้ำเต้า, ฟักเขียว, แตงไทย, แตงโม, ฟักทอง, เป็นอันตรายห้าม และ
อุปัชฌายะทุกชนิด มีติอย่างญาณชาติเหมือนกัน. มหาวัลและ
อุปัชฌายะชนนี้ ไม่ได้ทรงห้ามไว้จริง, ถึงกระนั้น ย่อมเข้ากับสิ่งที่
เป็นอันปิยะ; เพราะเหตุนี้ จึงไม่ควรไปจาลภัต.
น้ำปานะแปลอย่าง ทรงอนุญาตไว้, น้ำปะแห่งผลไม้เดินมี
หวาน, มะยม, มะงั่ว, มะบิด, สะคร้อ, และลิ่มเหี้ยว เป็นต้น
มิติอย่างอัญมาณแท้. บ้านนานะแห่งผลไม้เหล่านี้ ไม่ได้รงอนุญาต
ไว้จริง. ถึงกระนั้น ย่อมเข้ากับสิ่งที่เป็นกิปลิปะ; เฉพาะฉะนั้น จึงควร.
ในกฎที่แก้ว่า "จริงอยู่ เว้นรสแห่งเมล็ดข้าวกับทั้งสิ่งที่อัญโลม
เสียนแล้ว ขึ้นชื่อว่าผลไม่อุ่น ที่ไม่ควร ย่อมไม่รับ, น้ำผลไม้ทุกชนิด
เป็นมากกว่ากิแท้."
จิรว พระผู้มพระภาคทรงอนุญาตไว้ทุกชนิด, จิรอิอีกอีกรกชนิด
ที่อุปโลมอรเหล่านั้น คือ "ผ้าทุกกละ ผ้าแคว้นปัตตุนะ ผ้ามืองเจียว
ผ้าเมืองแกบ ผ่าสำเร็จด้วยกุศริ ผ้ามวาให่ พระธรรมสังกาคผลเกะะ
ทั้งหมดอนุญาตแล้ว.
บรรดาผ้าหล่านนี้ ผ้าปัตตุณะนั้น ได้แก่ ผ้าที่เกิดด้วยไหม
ในปัตตุนประเทศ. ผ้าสองชนิด เรียกตามชื่อของประเทศนั้นเอง. ผ้าสามชนิดนั้น อนุลผ้าไหม, ผ้าทุกละ อนูโลมผ้าป่า, นอกจากนี้
สองชนิด อนุโลมผ้าฝ้ายหรือผ้าทุกอย่าง.
บาตรพระผู้มพระภาคทรงห้ามสับอีอื่ออย่าง อนุญาตสองอย่าง คือ