อรรถกถาพระวินัยมหาวรรค ตอน ๒ ตติยสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย มหาวรรค ตอน 2 หน้า 157
หน้าที่ 157 / 183

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาในบทนี้เกี่ยวกับการถวายทานและบิณฑบาตที่พระเจดีย์โดยมีพระพุทธเจ้าเป็นประมุข การดำเนินพิธีการถวายอย่างถูกต้อง พร้อมแนวทางในการจัดการบิณฑบาตและวัตถุระมิ หรือของหอมที่ควรถวาย มุ่งเน้นให้เจ้าหน้าที่ผู้รักษาพระเจดีย์ปฏิบัติตามข้อกำหนดอย่างถูกต้องและมีการเตรียมการเพื่อบูชาที่เหมาะสม สำหรับผู้ที่มีหน้าที่ในการดูแลพระเจดีย์ ควรมีการจัดเตรียมและทำวัตรตามประเพณีเพื่อความเคารพอย่างสูงสุด.

หัวข้อประเด็น

-การถวายทานที่พระเจดีย์
-บทบาทของพระพุทธเจ้าในพิธี
-แนวทางการบูชาที่ถูกต้อง
-การดูแลรักษาพระเจดีย์
-การปฏิบัติของภิกษุในพิธี

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - ดัดสนับปาสำทิกา อรรถกถาพระวินัยมหาวรรค ตอน ๒ - หน้าที่ 382 ถามว่า "เฉพาะในกล่าก่อน ท่านก็หลายถาถทานแก่สงฆ์ สองฝ่าย มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุข พระผู้พระภาคเจ้าประทับนั่งตรงกลาง ภิกษุนั่งข้างขวา ภิกษุนั่งข้างซ้าย พระผู้พระภาคทรงเป็นพระสงฆเจาะแห่งสงฆ์สองฝ่าย, ครั้งนั้น พระผู้พระภาคทรงบิณฑบาตอธิษฐานที่พระองค์ได้ด้วยพระองค์เองบ้าง, รับสั่งให้ให้แก่กิณฑ์ทั้งหลายบ้าง. ส่วนในบัดนี้ คนผู้ล่าภั้งทั้งหลายพระปฏิบาทหรือพระเจดีที่บรรจุพระธาตุ แล้วถวายทานแก่สงฆ์สองฝ่าย มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุข ตั้งบาตรบนเชิงช้างหน้าแห่งพระปฏิบาทหรือพระเจดีแล้วถวายทักษิณโนบทว่า "ขอถวายแต่พระพุทธเจ้า" ดังนี้แล้ว ใส่ของควรเคียง ของควรบริโภคอันใดเป็นที่หนึ่งในบาตรนั้น, หรือ นำมายังวัด ถวายบิณฑบาตและวัตถุระมียและของหอมเป็นต้น กล่าวว่า "นี้ถวายพระเจดีย์" จะพึงปฏิบัติอย่างไร ในของควรเดือดและของควรบริโภคนั้น?" ตอบว่า วัตถุระมียและของหอมเป็นต้น ควรตกไว้ที่พระเจดีย์ก่อน, ผ้าพื้นใช้ทารงผ่ามือ น้ำมันพึงใช้ตามประเพีบ: ส่วนบิณฑบาตและสังสมัยนี้ผึ่งและอ้อนอ่อนเป็นต้น[๒๔] พึงให้แก่บรรพชิตหรือกุฏิสำหรับเป็นเจ้าหน้าที่ผู้รักษาพระเจดีย์เป็นประจำ, เมื่อไม่มีเจ้าหน้าที่ผู้รักษาเป็นประจำ, สมควรจะตั้งจั้งตนเองนามกระทำวัตรแล้วฉัน, ในเวลาฉัน เสียแล้ว จึงทำวัตรต่อกายหลัง ก็ควรเหมือนกัน. ก็ เมื่อเขากล่าวว่า "ขอทานทั้งหลายของนำสิ่งนี้ไปทำการบูชา พระเจดีย์" ดังนี้ บรรดาวัตถุธูปึระและของหอม
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More