ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - ตอดสมันปาสกำๅน อรรถกถาพระวินย มหาวรรค ตอน ๒ - หน้าที่ 400
แตกต่างเพราะเราเป็นเหตุ."
บทว่า ปริมุฎฐา ได้แก่ ผู้ลงลิ้มสติ.
บทว่ากว่า วาญโภคาราคิยา คือ ทํานาเทส ร อัญญาให้
เป็น รัสสะ, ความว่า ผู้มากอาจเป็นโจก จาร หาพ่ามุติปฐมเป็นต้น
เป็นโจกไม่.
บทว่ากาโด ได้แก่ ผู้มักกล่าวอ่อยคำ.
บทว่ายายอุปปนฺหนฺดียํ มีความว่า วิจญฺหาลั้นนั้น
คนปรารถนาจะต่อปากกันเพียงใด, ย่อมเป็นผู้มักกล่าวอ่อยไปเพียงนั้น,
แม้รูปหนึ่งก็ไม่ทำความสวยด้วยความเคารพต่อสงฆ์.
สองบทว่ากย เทนติ มีความว่า อนันตมทะเลาะใดนําไปสู่
ความเป็นผู้ไม่มีสะอาดนี้.
สองบทว่า น ตวิ เทนติ มีความว่า วิจญฺหาลั้นนั้น ไม่รู้ซึ่งความ
ทะเลนั่นว่า "ความทะเลานี้ มีโทษอย่างนี้."
บทวากว่า เย จ ต อุปยนฺหนฺดียํ มีความว่า ชนเหล่าใด
เข้าไปพูอการที่ว่า "ผู้นี้ได้อร่อย," เป็นดังนั้นไว้.
บทว่ากสนฺตโน คือ เป็นของเก่า.
บทว่าว ปร มีความว่า เว้นพวกบัณฑิตเสีย ชนเหล่าอื่นจาก
บัณฑิตนั้น คือ ผู้ถือความบาดหมางกัน ชนเหล่าอื่นนั้น เมื่อทำการทะเลาะอยู่กามกลางสงฆ์นี้ ย่อมไม่รู้สียเลย
ที่เดียวว่า "เราทั้งหลายยุบับ คือปานปี ฉิบหาย ไปสู่อกัลความ
ตายเนือง ๆ คือ สม่ำเสมอ."