ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - ตอดสนิทปาสำหรับอรรถาธิบาย หวาวรด ตอน 2 - หน้าที่ 251
ข้อว่า อิท วิญาณ ปกุลโล จ ปญฺญายติ มีความว่า ภิกฺขุ นั้นได้เห็นที่ซึ่งพวกโจรจับปลาปักกัน และสถานที่อ้างด้วยของหอมเป็น
ต้น ตามนัยก่อนนั้นเอง เมื่อกล่าวว่า "นี่คือเป็นธรรมของธรรมชติ"
จึงกล่าวอย่างนั้น
ข้อว่า อิตนว นา วาณี มีความว่า ท่านจะบอกตัวบุคคลที่
ท่านรังเกียจด้วยวัตถุนี้ ในบัดนี้แหละ ก็แสดงเดิมแต่กาลที่ได้เห็นแล้ว
เพราะเห็นวัตถุและบุคคลรวมทั้งสองนี้ สงฆต้องวิจัยก่อน จึง
ปวรณาได้
สองบทว่า กุลุ จวนาย มีความว่า สมควรโทษ ด้วยคำโทษ
ที่สมควร
ถามว่า "เพราะเหตุไร?"
ตอบว่า "เพราะวัดญังมีไว้ฉี่ก่อนแต่ปวรณา และเพราะ
บุคคลซึ่งได้แล้ว ถูกโทภายหลังแต่ปวรณา
ข้อว่า อุกฺกฏุณฺ ปาจิตตีย์ มีความว่า จริงอยู่ ภิกขุทั้ง
หลายนี้หัดดูและบุคคลรวมทั้งสองนี้แล้ว วิจัยษรึก่อนแต่ปวรณา
แล้ว จึงปวรณา, เพราะฉะนั้น จึงเป็นอาบัติแก่ภิกขู้อื่น ๆ
นั่นอีก
วิจัยฉันในข้อว่า เทว ตโย อุโปสถา อตฺถุทิสฺสก กฏํ นี้
พิฆ่าราบดังนี้:-
๑. ปุชฺฉในอรรถกถาเป็น กุลุ โจทนาย โจทฏุ วิญฺญติ แต่เนาะเป็น กุลุ โจทนาย โจทฏุ วิญฺญติ แปลว่า สมควรเพื่อการโจท คือ ควรที่จะโจท