การอธิบายพระวินัยในมหาวรรต ตอนที่ ๒ ตติยสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย มหาวรรค ตอน 2 หน้า 64
หน้าที่ 64 / 183

สรุปเนื้อหา

บทความนี้นำเสนอการตีความหมายของคำสำคัญในพระวินัยมหาวรรต รวมถึงความคิดเกี่ยวกับการกระทำที่เป็นไปตามพระธรรมและศีลธรรมที่กล่าวถึงในบทเรียนต่าง ๆ โดยเน้นการพิจารณาและกลั่นกรองความรู้เพื่อนำไปสู่การปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง ทั้งนี้ยังพูดถึงบทบาทของพระคุณและธรรมที่เกี่ยวข้องกับการเผยแพร่คำสอน ทำให้ผู้เรียนเข้าใจถึงสิ่งที่ควรทำเพื่อความเจริญในทางธรรม โดยมีการเชื่อมโยงไปยังประวัติความเป็นมาของการเทศนาเหล่านี้.

หัวข้อประเด็น

- การตีความพระวินัย
- การอธิษฐานในธรรม
- ความหมายของคำในพระวินัย
- การกระทำตามธรรม
- บทบาทของพระธรรมในชีวิตประจำวัน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - คงมีสมิณา สักการะ อธิษฐานพระวินัย มหาวรรด ตอน ๒ - หน้าที่ 290 บทว่า อนวิจฉาการ มีคำอธิบายว่า ท่านจงทำการที่พึงรู้ตาม คือ คิด พิจารณาแล้วจึงทำ บทว่า ถามณะสูสถาน ได้แก่ (มนุษย์) ผู้มีชื่อเสียงในโลก สองบทว่า สาระ โทติ มีความว่า จะเป็นความดี สองบทว่า ปฏิกิริยา มีความว่า อัญญคติยิ่งทั้งหลาย พึงยกรบแผ่นผ้า เที่ยวไปว่ายร้องในเมือง ถามว่า เพราะเหตุไร ? ตอบว่า เพราะพวกเขาคิดว่า "ความเป็นใหญ่ชี้มีกจากพวกเรา ด้วยอุปายอย่างนี้." บทว่า โอปนวุติ มีความว่า (สกุลของท่าน) แต่งไวแล้ว คือ เตรียมไว้แล้วเป็นเดิมดูบำบัด ? [๔๕] บทว่า คู่อ ได้แก่ นิวาศน์ สองบทว่า ทาตพุท มนฺเจยยคสิ มีความว่า พระผู้พระภาค ทรงตัดเตือนว่า "ท่านอย่าตัดไทยธรรมของนิกรชนเหล่านี้เสียเลย แต่ ท่านพึงสำรวจจึงอธิธรรม อันนควรให้แก่นิกรชนเหล่านั้น ผู้มาถึงเข้าแล้ว." บทว่า โอกาโร ได้แก่ ความกระทำด้วย คือ ความเป็นของทราม บทว่า สามกีลิกา ได้แก่ (ธรรมเทสนา) ที่พระองค์เองทรงยืนขึ้น อธิบายว่า ไม่ทั่วไปแก่พระสาวกเหล่าอื่น บทว่า อุทกสุดตฑ์ ได้แก่ มังสะที่เขาทำเฉพาะ (ตน).
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More