การแสดงลักษณะกรรมในพระพุทธศาสนา ตติยสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย มหาวรรค ตอน 2 หน้า 165
หน้าที่ 165 / 183

สรุปเนื้อหา

ในเนื้อหานี้มีการอธิบายถึงการแสดงลักษณะกรรมในพระพุทธศาสนา โดยพระผู้มีพระภาคตรัสแทนความหมายของกรรมและสถานะแห่งสงฆ์ เพื่อให้เข้าใจถึงประเภทของกรรมที่ชื่อว่า กมฺมปญฺญตโต ซึ่งแสดงถึงผู้ประกอบกรรมที่ควรแก่ธรรม. นอกจากนี้ยังมีการกล่าวถึงบุคคลที่มีความสง่างามจากกรรมและวัตถุประสงค์ในการแสดงกรรมเพื่อนำไปสู่การพัฒนาสมาคม โดยเฉพาะในกลุ่มภิกษุ โดยผ่านวิธีการที่อิงอยู่ตามความเข้าใจและการเรียนรู้แห่งปริวรรษกรรม.

หัวข้อประเด็น

- ลักษณะกรรมในพระพุทธศาสนา
- หมายความของสงฆ์
- กรรมกับการเป็นผู้ประกอบกรรม
- การแสดงลักษณะของบุคคลที่สง่างาม
- ความสำคัญของวิปดิโดยบริษัทแห่งปริวรรษ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - ตลอดสนัปาสากิโก ค อรรถกถาวินาย มหาวรรค ตอน 2 - หน้าที่ 390 ส่วนอปรโลกนกกรรม อันภิกุอ้อมทำเพียงสวนประกาศ; เพราะฉะนั้น ฤกิตกรรมและอปรโลกนกกรรม นพระผู้มีพระภาคจึงไม่ทรงแสดงไว้ ในบทสี่. ข้าพเจ้าจัดพรรณนาวินัยฉบับเฉพาะนั้นแน่มทั้งหมด ข้างหน้า. บัดนี้ พระผู้มีพระภาคตรัสว่า ปญฺญ สงฺฆะ เป็นอาทิ เพื่อ แสดงประเภทแห่งสงฆ์ทั้งหลาย ผู้จะพึงทำกรรมที่พร้อมเพรียงโดย ธรรม ซึ่งเป็นที่ทํา. บทว่า กมฺมปญฺญตโต คือ ผู้ประกอบกรรม ได้แก่ผู้ประกอบในกรรม คือ ผู้ควรกรรม, ความว่า ไม่ควรเพื่อกิริยามิ ๆ หมดได้. คำว่า จตุคฺคຸารณญา ภิกฺขุ กามญา ภิกฺขุจตุคฺคຸารณฺโตเป็น อาทิ พระผู้มีพระภาคตรัส เพื่อแสดงวิธีโดยบริษัทแห่งปริวรรษ เพื่อ ในคำนั้น บุคคลผู้สง่างามกันเพราะกรรม พระผู้มีพระภาค ทรงถือเอา ด้วยอุกอาจิตตคํพท์. บุคคลผู้สง่างามกันเพราะลักษธิ ทรงถือเอาด้วยนามสง่างามคํพท์. สองบทว่า นานาสิมาย จิตตุตฺโต มีความว่า เป็นดูรวก กับทั้งภิกษุผู้อยู่ในกตัญญูวาสที่มีสมบัติหรือเขายานอสม. คำว่า ปริวรรษกตฺุโต เป็นอาทิ พระผู้มีพระภาคเจ้าสรร เพื่อ แสดงวิปดิโดยบริษัทแห่งปริวรรษกรรมเป็นดัชนีเท่านั้น. ข้าพเจ้าจัก ประกอบวรรณวินัยแห่งกรรมเหล่านั้น ข้างหน้า. เพื่อแสดงข้อที่กรรมถูกคัดค้านแล้วและจินต์ เป็นกรรมกำเนิด
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More