การตรวจสอบความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ตติยสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย มหาวรรค ตอน 2 หน้า 24
หน้าที่ 24 / 183

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเน้นไปที่การรู้จักและโทษบุคคลในเวลาที่ถูกต้อง โดยยกตัวอย่างความหมายของคำว่า 'วิจินฉน์' ที่พิจารณาจากกลิ่นของบุคคลและวิธีการระบุโทษโดยใช้สถานการณ์ต่างๆ ผู้อ่านจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับการตรวจสอบบุคคลและการเกิดบรรเทาเมื่อใช้หลักการในการพิจารณา.

หัวข้อประเด็น

-การรู้จักบุคคล
-การระบุโทษ
-การบรรเทาเกิด
-ความสำคัญของสถานการณ์
-การวิเคราะห์กลิ่นในบริบททางจิตใจ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - ตาดสนิทปาสักทัก อรรถกถาวณิชมหาวรร อตอน ๒ - หน้าที่ 250 ในข้อว่า วิตุติ ฯลฯ รุโม ปวารณุย นี้ มีเนื้อความ ดังนี้ว่า "เราทั้งหลายจักรู้จักตัวบุคคลนั้น ในเวลาใด จักโทษบุคคล นั้น ในเวลานั้น แต่บัดนี้สงสังเวชบรรเทิ่ก." ข้อว่า อานนฺ นำ เวทติ มีความว่า หากท่านรังเกียจบุคคล บางคนด้วยวัตถุนี้ ท่านจะระบุตัวบุคคลนั้น ในบัดนี้และ. [๑๒๙] หากเธอรบ, สงสังพิงใส่ส่วนบุคคลนั้นแล้ว ถึงบรรเทา; หากเธอ ไม่รบ, สงสังพิงกว่า "เราทั้งหลายจักรู้จักตัวบุคคลนั้นแล้วจักรู้", คังนี้ บรรเทา เกิด. วิจินฉนในข้อว่า อุ ปุกโละ ปญฺญาติ น วุตุ นี้ พึง ทราบดังนี้:- ภิญฺญุปนึง บุษพระเดชด้วยวระปิยของหอและเครื่องชะโลม ทีก็ดี, ฉันยาดองอิฐธุกคี่; กลิ่นตัวของเธอเป็นของคล้ายกับสิ่งเหล่า นั้น, ภิกขุนนั้นหมายเอากลิ่นนั้น เมื่อประกาศวตว่า "กลิ่นของภิญฺญ นี้" จึงกล่าวอย่างนั้น. ข้อว่า ปุดกิลัง ฯลฯ ฯไปว่า สุโข วัตรปะโยน มีความว่า สงม์ จงเว้นบุคคลนั้นเสีย บรรเทาเกิด. ข้อว่า อิตานนฺ นำ เวทติ มีความว่า ท่านจงเว้นบุคคลใด, จงกล่าวโทษของบุคคลนั้น ในบัดนี้และ. หากภิญฺญู่นั้นกล่าวว่า "โทษ ของบุคคลนั้นเป็นอย่างนี้" สงสัยพึงชำระบุคคลนั้นให้เรียบร้อยแล้ว จึง บรรเทา; แต่ถ้าเธอกล่าวว่า "ข้าพเจ้าไม่ทราบ," สงสัยก็กล่าวว่า "เราจักพิจารณาแล้วจักรู้" ดังนี้ บรรเทาเกิด.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More