ความหมายของคำว่า นาค และการเปรียบเทียบกับช้างใหญ่ ตติยสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย มหาวรรค ตอน 2 หน้า 177
หน้าที่ 177 / 183

สรุปเนื้อหา

บทความนี้เสนอความหมายของคำว่า 'นาค' โดยเปรียบเทียบกับช้างใหญ่ที่เที่ยวไปในป่าแต่ไม่ทำบาป ทั้งนี้ยังมีการกล่าวถึงสถานที่ที่พระผู้มีพระภาคทรงเข้าไปอาศัย นอกจากนี้ยังกล่าวถึงลักษณะของช้างในหลายบริบท ที่สะท้อนถึงการเป็นตัวอย่างอันดีในธรรมะสำหรับการปฏิบัติภาวนา ผู้ที่ปฏิบัติตนตามหลักคำสอนจะเดินทางในชีวิตอย่างสงบและปราศจากบาป เหมือนช้างที่เดินอยู่ในป่าอย่างอิสระ

หัวข้อประเด็น

-ความหมายของนาค
-เปรียบเทียบกับช้างใหญ่
-การปฏิบัติภาวนา
-พระวินยะมหาวรรค

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - ตอนสมันปาสักท่ากอธรรกถาพระวินยะมหาวรรค ตอน ๒ - หน้าที่ 402 สองท่าว่า มาตุครูญญา นาโค มีความว่า เหมือนช้างใหญ่ (ละโวล) เที่ยวไปในป่า สัตว์วังงั้นก็ว่า ช้าง คำว่า "นาค" นี้ เป็นชื่อแห่งผู้ใหญ่ใหญ่ มีอธิบว่า "เหมือนอย่างว่า ช้างใหญ่ผู้เลี้ยงมังกร เที่ยวไปในป่าแต่ลำพัง ทั้งไม่ได้ทำบาปทั้งหลาย ฉันใด; อฉัน ช้างปรเลยยะ เที่ยวไปในป่า ตามลำพัง ทั้งไม่ได้ทำบาปทั้งหลาย ฉันใด; บุกคลผู้เที่ยวไปตามลำพัง ทั้งไม่ได้ทำบาปทั้งหลายก็ฉนั้น หลายท่าว่า ปาริเลยยก วิภติ รฏิวตุวณฺโญทต มีความว่า พระผู้มีพระภาคทรงเข้าไปอาศัยบ้านชื่อปาริเลยยะ เสด็อยูในรัศมีไปรษณีต บทว่า หฤทิณโค ได้แก่ ช้างใหญ่ บทว่า หฤทิณลภี ได้แก่ ลูกช้าง บทวา หฤทิณอาจเปิ ได้แก่ ลูกช้างอ่อน ซึ่งยังดั้งมมุต บทว่า ฉินคุณาน มีความว่า เดี้ยงกินหญ้า มือต้องช้างหลา นั้นไปข้างหน้า ๆ ตะพวนเสีย คือ คล้ายคลึงซึ่งเหลือจากเหี้องกินแล้ว ข้อว่า โอฬุกโควกู้ มีความว่า อันช้างใหญ่่นั้นหักให้ตกลง จากที่สูงแล้ว สองท่าว่า อุตฺส สาญวรรค ควํ ความว่า ช้างหล่านี้ย่อมเคี้ยวกินถึงไม่ได้พึงทัก ซึ่งเป็นของช้างใหญ่่นั้น
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More