ตริตนฺปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย มหาวรรค ตอน ๒ ตติยสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย มหาวรรค ตอน 2 หน้า 99
หน้าที่ 99 / 183

สรุปเนื้อหา

บทความนี้ว่าด้วยการวินิจฉัยในจีรวักขณะ ซึ่งมีการกล่าวถึงความหมายของบทต่างๆ เช่น ปกฎฎา และ อติสฺสา รวมถึงบทบาทของพวกมนุษย์และสิทธิ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับคำสอนของพระผู้ทรงธรรม นอกจากนี้ยังมีการยกตัวอย่างถึงการจัดตั้งและเสริมสร้างความเข้าใจในศาสตร์ทางศาสนา โดยเฉพาะเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับทรัพย์สมบัติและการบริจาคที่พระราชาทรงให้.

หัวข้อประเด็น

-จีรวักขณะ
-พระวินัย
-ความหมายของบทบัญญัติ
-ชายหญิงในบริบทของศาสนา
-การวินิจฉัยและการจัดตั้ง

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - ตริตนฺปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย มหาวรรค ตอน ๒ - หน้าที่ 325 [๒๐] จีรวักขณะ ภรรยา [เรื่องหมอชีวิต] วินิจฉัยในจีรวักขณะ พึงทราบดังนี้ :- บทว่า ปกฎฎา ได้แก่ เสียบแหลม คือ ฉลาย. บทว่า อติสฺสา ได้แก่ ไปหว่า. ถามว่า ชนเหล่าไรไปหา? ตอบว่า พวกมนุษย์มีความต้องการ. ก็พระผู้พระภาคตรัสว่า อุดิกากน อุดิกาน มนุสสาน ดังนี้ เพราะทรงใช้ฎีวงฺิจกติ ในอรรถแห่งฎีวงฺิจกติ. หลายบทว่า ปัญญาสาย จ รตฺติ คุณฑิ มีความว่า นาง อัมพปลลิกฎิกาถืออาธิษฐานสิทธิ์กกานา แล้วไปคืนหนึ่ง ๆ. บทว่า เกนโส ได้แก่ หมูกฏมิ. ข้อว่า สาวติ ติ คุมิรา คณิญฺ อฐฺวาเปส มีความว่า "ทวย นาคารให้ทรัพย์สองแสน พระราชาพระราชทานสามแสน และแดน กำหนดอารามอุทยานและพาขนะเป็นต้นอย่างอื่นแล้ว ให้แกสนาสดี รับรอง" อธิบายว่า ทรงตั้งไว้ในตำแหน่งนางนครโสโลสติ. หลายบทว่า ปฏิสนฺฏา น นตฺถิ คุณฑิ มีความว่า ไปอยู่ ร่วมกันคือร้อยกาหปะนะ. สองบทว่า คิลนฺ ปฏิญฺญาย วันนี้ความว่า เราพึงให้ทราบมากความ ที่เราเป็นคนเจ็บ.
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More