พระราชาและการเดินทางในพระพุทธศาสนา ตติยสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย มหาวรรค ตอน 2 หน้า 106
หน้าที่ 106 / 183

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาพูดถึงการเดินทางของช่างและทาสในยุคก่อนพระพุทธเจ้า รวมถึงการสื่อสารความปรารถนาของกุลบุตรที่เชื่อมโยงกับพระปัจเจกพุทธเจ้าและการเกิดเป็นพระราชาในอนาคต ผ่านการปฏิบัติและการสวดภาวนา โดยมีการเล่าเรื่องที่เกี่ยวกับความสามารถในการเดินทางของตัวละครต่าง ๆ ในอดีต

หัวข้อประเด็น

-การเดินทางในประวัติศาสตร์
-บทบาทของพระราชาในศาสนา
-พระปัจเจกพุทธเจ้า
-ความเชื่อและปรารถนาในพระพุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - ตลอดสนมปาสำหรับ อรรถภาพพระวินัยมหาวรรค ตอน ๒ - หน้า ที่ 332 แต่พระราชานั่นจะมีแต่ช่างพังงาเองเท่านั้นที่จะสามารถทำได้ ถึงช่างพลายชื่อว่านาพากีรี ย่อมเดินทางได้ ๑๐๐ โยชน์ มั ๒ ตัว คือ วลูกัณฑะด้านหนึ่ง บุญเกษะด้านหนึ่ง ย่อมเดินทางได้ ๑๒๐ โยชน์ ทาสชื่ออกกะ ย่อมเดินทางได้ ๑๐ โยชน์ ได้ยินว่าเมื่อพระพุทธเจ้ายังไม่บังเกิดขึ้น วันหนึ่งเมื่อกุลบุตรผู้หนึ่งนั่งเพื่ออธิษฐานพระปัจเจกพุทธเจ้ายืนอยู่ที่ประตูแล้วได้ไปเสีย บรรลุมหนึ่ง บอกกับกุฎุมพีรนั้นว่า "พระปัจเจกพระพุทธเจ้ามาแล้ว ไปเสียแล้ว" คุลกฤษณะได้พูดจึงบอกว่า "ท่านนงไป จงนำมาตรมโดยเร็ว" ดังนี้ ให้่นำมาตรมแล้ว ให้คัดเตรียมไว้สำหรับตนทั้งหมดส่งไป บรรดอกนี้ นำมาตรนั้นส่งไปถึงเมืองของพระปัจเจกพุทธเจ้าแล้ว ได้กระทำความปรารถนาว่า "ขอแต่ท่านผู้เจริญ ด้วยประกอบความ บวกวนาวาททางกาย ที่พระเจ้ากระทำแก่ท่านนี้ ข้านอย่าเกิดในที่เรา ๆ ของจเป็นผู้พร้อมมูลด้วยพาหนะเกิด" บรรดานั้นเกิดเป็นพระราชา ทรง พระนามว่าปัจโชติ นั้น นี้ ความสมบูรณ์ด้วยพาหนะนี้ มีด้วย ความปรารถนา สามบทว่า นนเนะ เกษุชโอลุมปฏวา คือ แทรกกลาง ด้วยเล็บ, อธิบายว่า ไส่ สองบทว่า สปุญี ปายตวา [๒๒๕] คือ ให้ดื่นเมือใสด้วย บอกวิธีจัดการแก่บรรดาเราทั้งหลายด้วย ๑. คูเรืองในสามาวุตติ คูปมาวก อุปมาวก ถมุมปฏุทกะ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More