ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประโยค - ดอกสนมัมปาสักทำภารกิจถวายมหาวรรณะ ตอน 2 - หน้าที่ 300
[ว่าน่าระสื่ออย่าง]
ธัญญลอสร นั้น ได้แก้ รสแห่งข้าวเจิดชนิด.*
ท่ากร นั้น ได้แก้ รสแห่งผักที่สุด. จริงอยู่ รสแห่งผักที่เป็นยาวกัล ย่อมควรในปริมาณเท่านั้น รสแห่งผักที่เป็นยาว- ชีวิตที่สุขพร้อมกับเนยใสเป็นต้น ที่รับประคับไว้ควรฉันได้เจ็ดวัน. แต่ถ้ารสแห่งผักนั้น สุกด้วยน้ำล้วน ควรฉันได้จนตลอดชีวิต. ภูกฤษณะผักที่เป็นยาวชีวิตนั้นให้สุขพร้อมกับเนมสดในต้นเอง ไม่ควร, แม้ที่ชนเหล่านี้ให้สุขแล้ว ย่อมบ่าวผักเหมือนกัน. ส่วนในครูนิ กล่าวว่า รสมะแห่งผักซึ่งเป็นยาวกลิ ที่ก้นในน้ำเย็นทำดี สุกด้วยแสงอาทิตย์ดีควร ขอมควร.
วินิจฉัยในอ้วนว่า ธมฺมวา มฤคูปูรวาส นี้ พึงทราบดังนี้ : รสดอกมะขามจะสุกด้วยไฟ หรือสุกด้วยแสงอาทิตย์ตาม ย่อมไม่ควร ในปัจจุบัน. ชนทั้งหลายถือเอารสดอกไม้อันใดซึ่ง สุกแล้ว ทำให้เป็นน้ำมา, รสแห่งดอกไม้นั้น ย่อมไม่ควรแต่ต้น แม้ในปัจจุบัน. ส่วนดอกมะขาม จะสหร่อนฝัง หรือค้ื่นแล้ว หรือ คูณน้ำอ่อนแล้วก็ถามเข้า, เขายังไม่ทำเป็นน้ำมา จำดำแต่ดอก ชนิดใด, ดอกชนิดนั้นทั้งหมด ย่อมควรในปริมาณ. รสอย่างที่
๑. ๒. สาลี [สาระ] ข้าวสาลี Rice. ๒. วิถี [วิธี] ข้าวเปลือก Rice. Pabby.
๓. กุทธุ [กุทธุ] หญ้ากับแก้ ข้าวชนิดหนึ่ง A kind of grain ๔. โญมู [โญมู] ข้าวละมาน wheat ๕. อว [อว] ข้าววะ Corn, barlys. ๓. กงู หรือ กนูก [กงู] ข้าวฟ่าง Pamic seed.