ข้อความต้นฉบับในหน้า
ประชโค - ตกสนมัปาสีกา อรรถภาษพระวินัย มาหวรร ดน ๒ - หน้าที่ 340
เสนาสนะปลายแดน ก็ไม่ควรสมมติ. อนามกทีปัญหลายไปสู
ขนาดสมานังในขนาดสมา สมมติคุณาคารนี้ ย่อมไม่ควร, ต้องสมมติ
ในฑมกลางวัดเท่านั้น.
วิจัยฉบับในว่า คุตต คุตต ชานยุ นี่ พึงทราบดังนี้ :-
โทษไร ๆ ในสมภาระทั้งหลายมีหลังคาเป็นต้น, แห่งเรือนคลังใด
ไม่มีก่อน, เรือนคลังคันนั้น ชือว่าคุ้มได้, ฝายเรือนคลังใด มีกำลังสำหรับ
มุง หรือกระเบื้องสำหรับมุง พังไปในที่แห่งใดแห่งหนึ่ง, [๒๕๐]
หรือมีช่องในที่บางแห่ง มีผนังเป็นต้น ที่ฝนรั่วได้, หรือฝนคั่งในนั้นทั้งหมด
ชื่อว่าคุ้มไม่ได, พingt ตรวจดูเรือนคลังนั้นแล้วซ่อมแซม. ในฤดูหนาว
พิงเปิดประตูและหน้าต่างให้ดี, เพราะว่า จิรอ่อนตกหนาว เพราะ
ความหนาว. ในฤดูร้อน ประตูและหน้าต่าง ควรเปิดเพื่อใหล่เข้า
ในระหว่าง ฯ. ด้วยว่า เมื่อทำอย่างนั้น ชื่อรู้จักเรือนคลังที่คุ้มได้และคุ้ม
ไม่ได.
ก๊าบหน้าที่ทั้งสามนี้ มีเจ้าหน้าที่รับอิจฉรีเป็นต้น ต้องรู้จักวัตร์
ของคน.
บรรดาเจ้าหน้าที่ทั้งสามนั้น ผ้ากาชนิคที่ชนทั้งหลายถวายว่า "
กาลวิร," ดีว่า "อากาลวิร" ดีว่า "อัจฉริวิร" ดีว่า
"วัสดุกสาภิก," ดีว่า "พื้นสีหนะ" ดีว่า "ฟ้าปลาย" ดีว่า
"ผ่าเช็ดหน้า," ดีว่า อันเจ้าหน้าที่รับอิจฉรีไม่ควรรวบเป็น
กลองเดียวกัน; พึงรับจัดใด้เป็นแผนก ๆ แล้วบอกอย่างนั้นแแล มอบ