ดอกสนิมป่าที่กลา ว อรรถาธิบายวินัย มหาวรรค ตอน ๒ ตติยสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย มหาวรรค ตอน 2 หน้า 180
หน้าที่ 180 / 183

สรุปเนื้อหา

บทวินัยที่กล่าวถึงการมีแนวปฏิบัติในการพูดและตอบคำถามอย่างเหมาะสม โดยมีอรรถาธิบายถึงความสำคัญของการพูดด้วยเหตุผลและการรู้จักพิจารณาตัวเอง ซึ่งเป็นหลักการที่ช่วยส่งเสริมคุณธรรมในสังคม พระผู้พระภาคตรัสว่า บุคคลที่ไม่พูดนอกเหตุอันควรจะเป็นผู้ที่ได้รับการยกย่อง และไม่ทำให้ประโยชน์เสียไป ถือเป็นหลักการที่สำคัญในชีวิตประจำวัน โดยเฉพาะการมีจิตสำนึกในการพูดและตอบสนองต่อผู้อื่น

หัวข้อประเด็น

-วินัยในการพูด
-ความสำคัญของการตอบด้วยเหตุผล
-หลักการทางพระพุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - ดอกสนิมป่าที่กลา ว อรรถาธิบายวินัย มหาวรรค ตอน ๒ - หน้าที่ 405 บทว่า อวดภูจิตาโอโร คือ ผู้มีอาจจะอันตนพิจารณาแล้ว ได้แก่มืออาจจะอันตนดูตรวจตราแล้ว โดยนิยามว่า "มีปกติ ทำความรู้สึกตัว ในเมื่อองค์ดู ในเมื่อเหลือแนด." ส่วนในอรรถกถาทั้งหลายว่า ผู้มีอาจจะไม่ปกติ (ผู้ระวังตัวดี). บทว่า วิยูญา ได้แก่ องอาจ. สองบทว่า อ ยุญตุฏติ ภัน คือ เมื่อพูด ไม่บอกเหตุอันควร คือ ไม่เข้ากัน. พระผู้พระภาคตรัสว่าว่า "จริงอยู่ บุคคลนั้น ย่อมพูดไม่ นอกเหตุอันควร คือไม่พูดปราศจากเหตุด้วยความรำรึก หรือด้วยอำนาจความจำเดียง เพราะฉะนั้น จึงกล่าวว่า ไม่รับประโยชน์ให้เสีย. ฝ่ายบุคคลผู้พูดด้วยความรำรึก หรือด้วยอำนาจความจำเดียง ย่อ่องประโยชน์ให้เสีย, บุคคลใดไม่กล่าวเหตุบุคคลนี้ ย่อมเป็นผู้ไม่เป็นผู้ดี. บุคคลนี้สมควรเพื่อยกย่อง. คาดว่า ตเตว ปฏิญญา พึงตราบให้ฉัตเฉนลักษหน่อย, เนื้อความแห่งคำานั้น บุคคลผู้พูดไม่ออเหตุอันสมควร ย่อมไม่ยงประโยชน์ ให้เสียฉันใดแล? เขาเป็นผู้ถูกถามปัญหา ในมากลางบริษัท ย่อมไม่งั้น, และย่อมไม่เป็นผู้ก่อ ก็ฉนั้นนันแล. จริงอยู่ ผู้ใด ไม่รู้รรค วู้นีย์ ย่อมยังอั้น, ผู้ใด ไม่อาจเพื่อ ตอบ ผู้นัน ยอมเป็นผู้ก่อ. ฝ่ายผู้ใด อรรถธรรด้วย อาเพื่ออตอบด้วย
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More