การประกอบยาและการศึกษาศิลปะ ตติยสมันตปาสาทิกา อรรถกถาพระวินัย มหาวรรค ตอน 2 หน้า 103
หน้าที่ 103 / 183

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาที่นำเสนอในบทนี้เป็นการสื่อถึงการศึกษาศิลปะการประกอบยา ภายใต้การดูแลของพระพุทธเจ้าและท้าวสักกเทวราช โดยมีการกล่าวถึงความสำคัญของการเรียนรู้และการรักษาโรคผ่านวิธีการที่เทวดาและอาจารย์ได้สอนให้ การเข้าใจในพระพุทธศาสนาและความรู้ในการแพทย์ช่วยให้ชีวิตกลับมามีสุขภาพดีอย่างยั่งยืน รวมถึงการศึกษาที่มาจากอานุภาพของเทวดาแทนการพึ่งพาอำนาจของมนุษย์เอง อย่าลืมติดตามเพิ่มเติมได้ที่ dmc.tv

หัวข้อประเด็น

-การประกอบยา
-การศึกษาศิลปะการแพทย์
-คำสอนของพระพุทธเจ้า
-บทบาทของอาจารย์
-การแพทย์ในสมัยโบราณ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค - ตยสนิทปราสาทิกา อรรถกถาวีวินิยมวรรค ตอน ๒ - หน้าที่ 329 ฝ่ายท้าวสักกเทวราชได้รับพระราชทานอย่างนี้ว่า "เจ้าก็นี้เป็น อุปถัมภ์คุณความคุ้มเคยอย่างยอดของพระพุทธเจ้า เอาเดิด เราจะให้ เขาศึกษาการประกอบยา" จึงบังสิงในศรีษะของอาจารย์ ให้ชักนั่น เขาศึกษาการประกอบยา โดยวิธีที่แพทย์สามารถรักษาโรคไม่มีส่วนเหลือ ยกเว้นวิมากของกรรมเสีย ให้หายด้วยการประกอบยามนเดียวเท่านั้น ส่วนเขาลำกล่าวว่า "เราเรียนในสำนักอาจารย์" เพราะฉนั้น พอทั่วสักกะปล่อยด้วยทรงดำว่า "บัดนี้ชีวิตสามารถเพื่อเยียวยาได้" เขาจึงคิดอย่างนั้นแลถามอาจารย์ ส่วนอาจารย์ทราบดีว่า "ชีวิตนี้ไม่ได้เรียนศิลปะด้วยอานุภาพ ของเรา เรียนด้วยอานุภาพของเทวา" จึงกล่าวคำเป็นต้นว่า เตมหิ ภณณ. สามารถว่า สมุตตา โโยนี อาชานุทุโต้ มีความว่า ออก ทางประตูด้านหนึ่ง ๆ วันละประตู เทียวไปปลอด ๕ วัน. สามารถว่า ปรีติภูปา ปญญูอาศ มีความว่า ได้ให้เสียง มีประมาณน้อย. [๒๒๗] เพราะเหตุไง ? ได้ยินว่า แพทย์อาจารย์นั่น ได้มีความวิตกอย่างนี้ว่า "ชีวิตนี้ เป็นบุตรของมหาสกุล พอไปถึงเท่านั้น จักได้รับกระแสพระใหญ่ จากสำนัก บิดาและปู่ เหตุนี้นั่น เขาจึงไม่รู้คุณของเราหรือของศิลปะ แต่เขาสั้น เสียงในกลางทางแล้วก็ต้องใช้ศิลปะ แล้วจักษ์รุนของเราและของ ศิลปะแน่แท้" เพราะเหตุนี้ จึงให้เสียงแต่น้อย
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More